Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CARBOHYDRATE
METABOLISM - Coggle Diagram
CARBOHYDRATE
METABOLISM
3.1 Glycolysis pathway
สลายกลูโคสซึ่งมีคาร์บอนซึ่งมีคาร์บอน 6 อะตอมให้เป็นกรดไพรูวอก (pyruvic acid) ซึ่งมีคาร์บอน 3 อะตอม 2 โมเลกุล ปฏิกิริยาแบ่งออกเป็น 2 ตอน มีการใช้พลังงานการกระตุ้นกระบวนการ 2 ATP ส่วน กระบวนการหลังจะมีการสร้างพลังงาน 4 ATP ตอนแรกใช้ไป 2 ATP สร้างได้ 4 ATP พลังงานสุทธิ 2 ATP และมีการดึงไฮโดรเจนและอิเล็กตรอนออกมาได้โดย NAD+NADH+H+2 โมเลกุล
3.2 Krebs'cycle
วัฏจักรกรดไตรคาร์บอกซิลิก เป็นวัฏจักรกลางในการผลิต ATP รวมทั้ง NADH + H+ และ FADH2 ที่จะเข้าสู่ปฏิกิริยาฟอสโฟรีเลชั่นเพื่อสร้าง ATP ต่อไป เกิดขึ้นบริเวณเมทริกซ์ซึ่งเป็นของเหลวในไมโทคอนเดรีย โดยมีการสลายแอซิทิลโคเอนไซม์ เอ ซึ่งจะเกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และเก็บพลังงานจากปฏิกิริยาดังกล่าวไว้ในรูปของ NADH FADH2 และ ATP [1]การย่อยสลายสารอาหารใดๆให้สมบูรณ์เป็นคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำต้องเข้าวัฏจักรนี้เสมอ เป็นขั้นตอนการสร้างคาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุดในการหายใจระดับเซลล์
-
3.4 Gluconeogenesis
กลูโคนีโอเจนีซีส สำคัญในการผลิตกลูโคสในเนื้อเยื่อต่างๆ จากสารประกอบไม่ใช่คาร์โบไฮเดรตได้แก่ แลคเทส กลีเซอรอลและกรดอะมิโนบางชนิดเป็นวิธีสำรอง เกิดขึ้นในสภาวะที่ร่างกายกลูโคสได้รับคาร์โบไฮเดรตไม่เพียงพอ เนื่องจากเนื้อเยื่่อ เช่น สมอง ระบบประสาท ไต และเซลล์เม็ดเลือดแดงสร้างกลูโคสเป็นพลังงานสำคัญของสมองต้องการกลูโคสมากกว่า 120 กรัมต่อวันเกิดมากที่สุดที่ ตับ ไต ลำไส้เล็ก
3.5 Glycogen metabolism
3.5.1 ไกลโคเจน เป็นคาร์โบไฮเดรตสะสมที่สำคัญของสัตว์ ส่วนใหญ่สะสมในตับและกล้ามเนื้อ ในตับของคนที่ได้รับอาหารเพียงพอจะมีไกลโคเจนสะสมได้มากถึง ร้อยละ 6-10 ของน้ำหนักตับ ในกล้ามเนื้อมีไกลโคเจน ประมาณร้อยละ 1 ของน้ำหนักกล้ามเนื้อ
3.5.3 ไกลโคเจนในกล้ามเนื้อ : เป็นแหล่งพลังงานในการทำงานของกล้ามเนื้อ ทั้งในสภาพปกติและเวลาที่ต้องใช้พลังงานมากๆ อย่างปัจจุบัน เช่น เมื่อเกิดอาการตกใจ
3.5.2 ไกลโคเจนในตับ : เป็นแหล่งพลังงานในตับ เป็นต้นกำเนิดของกลูโคสที่ป้อนให้กระแสเลือดเพื่อนำไปใช้ในเนื้อเยื่อต่างๆ ในระหว่างมื้ออาหารแต่ละมื้อและในภาวะอดอาหาร (12-15 ชั่วโมง)
โรคเบาหวานแบ่งออกเป็น 4 ชนิด
- เกิดจากการขาดอินซูลิน
- พบมากในคนส่วนใหญ่
- เบาหวานชนิดที่มีสาเหตุชัดเจน
- เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์
คือ โรคที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงผิดปกติ เกิดจากความผิดปกติของการใช้น้ำตาลทำให้ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้เป็นพลังงานได้ตามปกติทำให้มีระดับน้ำตาลสูงขึ้น
อาการของโรคเบาหวาน
- ปัสสาวะบ่อย โดยเฉพาะตอนกลางคืน
- หิวน้ำบ่อย
- หิวบ่อย
- ผิวแห้ง
- เป็นแผลแล้วหายยาก
- รู้สึกชาบริเวณปลายมือ ปลายเท้า
1.1 ย่อยในปาก(ลิ้น)
-
มีการย่อยเชิงเคมี ต่อมน้ำลายจะสร้างน้ำย่อยชื่ออะไมเลส หรือ ไทยาลิน จะย่อยแป้ง => มอลโทส (น้ำตาลโมเลกุลคู่)
-
1.3 กระเพาะอาหาร
-
-
กระเพาะอาหารจะมีการสร้างกรด ซึ่งทำหน้าที่
- เปลี่ยนนำย่อยเปปซิโนเจนให้เป็นเปปซิน
- กำจัดเชื้อโรคที่ปนเปื้อนมากับอาหาร
-
1.5 ตับอ่อน
ตับอ่อนจะผลิตน้ำย่อยสำหรับโปรตีน,ไขมัน และ คาร์โบไฮเดรต โดยจะส่งไปที่ลำไส้เล็ก-ดูโอดีนัม
1.6 ลำไส้ใหญ่
-
แบคทีเรียที่อาศัยอยู่จะช่วยสร้างวิตามินเช่น B1,B2,B6,B12 ตัวที่สำคัญคือ วิตามิน K และลำไส้ใหญ่จะดูดซึมวิตามินเหล่านี้
1.7 ลำไส้เล็ก
แบ่งเป็น 3 ส่วน
- ลำไส้เล็กตอนต้น (ดูโอดีนัม)
- ลำไส้เเล็กตอนกลาง (เจจูนัม)
- ลำไส้เล็กตอนปลาย (ฮีเลียม)
สร้างน้ำย่อยและได้รับน้ำย่อยจากตับอ่อนและน้ำดีจากถุงน้ำดีมาย่อยโปรตีน,ไขมันและคาร์โบไฮเดรตที่ลำไส้เล็กตอนต้น
-
-
Hyperglycemia
น้ำตาลในเลือดสูงเกินกว่าเกณฑ์ค่าปกติ มากกว่า 99 มก/ดล หลังมื้ออาหาร 2 ชั่วโมง อาการที่พบบ่อยคือ ปัสสาวะบ่อย หิวน้ำบ่อย น้ำหนักลด ผิวแห้ง รู้สึกหิวแม้จะพึ่งกิน อ่อนเพลีย สายตาพร่ามัว มองเห็นไม่ชัด ซึ่งถ้าภาวะน้ำตาลในเลือดสูงบางทีไม่ได้แสดงอาการให้เห็นเสมอไป
Hypoglycemia
ภาวะร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดน้อยกว่า 70 มิลลิกรัม/เดซิลิตร มักทำให้เกิดอาการ ใจสั่น อ่อนเพลีย ซึ่งเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำนั่นมีโอกาสเกิดขึ้นสูง อาการพบบ่อยคือ หัวใจเต้นเร็ว เวียนศรีษะ ปวดศรีษะ ฉุนเฉียวง่าย กังวน สายตาพร่ามัว
เหงื่อออกมาก หิวบ่อย ตัวสั่น
คาร์โบไฮเดรตที่อยู่ในมอโนแซ็กคาไรต์เท่านั้น ที่จะดูดซึมผ่านเซลล์เยื่อบุลำไส้เล็กเข้าสู่กระแสเลือดเกิดขึ้นได้ 2 แบบ
- การดูดซึมแบบแพร่การกระจายจายเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เล็กเป็นการดูดซึมโดยอาศัยความเข้มข้นที่แตกต่างกันระหว่างน้ำตาลในลำไส้และน้ำตาลภายในเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เล็ก
- การดูดซึมแบบต้องอาศัยพลังงาน
เป็นการดูดซึมน้ำตาลที่ต้องการอาศัยพลังงานเกิดปฎิกิริยาฟอสฟอรัสของน้ำตาลเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เล็ก การดูดซึมแบบนี้ต้องอาศัยพลังงานและต้องอาศัยโปรตีนและโซเดียมไอออนด้วยการดูดซึมแบบนี้ไม่ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของน้ำตาล กลูโคสและกาแลคโทสจะดูดซึมเข้าสู่แระแสเลือด
monosaccharide
v
ดูดซึมที่ jejunm
v
ออกจากผนังลำไส้
v
copillares
v
ไหลเวียนไปตามเส้นเลือด
v
ตับ
v
ลำเลียงไปเซลล์ต่างๆทั่วร่างกาย