Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิควิธีการในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ของศิลปิน❤️ - Coggle Diagram
เทคนิควิธีการในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ของศิลปิน❤️
ศิลปินสาขาจิตรกรรม
ศิลปินชาวต่างชาติ
ฟินเซนต์ ฟาน ก็อกฮ์ (Vincent Van Gogh)
ประวัติ
เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม ค.ศ.1853 ที่เมื่องซึนเดิร์ต (Zendert)
ในภูมิภาคบราแบนต์ ประเทศเนเธอร์แลนด์
ผลงาน
คนกินมันฝรั่ง(The Potato Eaters)
เทคนิค
The Potato eaters
เป็นภาพวาดสีน้ำมันบนผืนผ้าใบโดยสีที่เลือกใช่เป็นสีวรรณเย็น
คือสีเขียวและสีน้ำตาลอ่อนจนถึงเข้มคล้ายสีแบบเอกรงค์ซึ่ง
เขาใช่วิธีการปาดและป้ายสีไปทาซับซ้อนกันด้วยเนื้อสีที่หนา
ศิลปินไทย
พิชัย นิรันต์
ประวัติ
เกิดเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2479
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม)
ประจำปีพุทธศักราช 2546
ผลงาน
เขียนด้วยสีน้ำมันขนาดใหญ่ท่วมหัวเช่นเดียวกับภาพแรกๆที่คล้ายภาพที่สอง
มีข้อน่าตำหนิอยู่อย่างหนึ่งก็คือสีที่ล้อมรอบวงกลมใช้สีตัน หากใช้สีสะอาด
ก็จะดูงดงามมิใช่น้อยทั้งๆที่ภาพภายในวงกลมเขียนอย่างจับจิตจับใจพอมาถูกล้อมกรอบด้วยสีขุ่นๆ
เทคนิค
วัฏฏะจักรแห่งชาติเป็นภาพวาดสีน้ำมันและติดทองคำเปลว
ประกอบลงไปบนผืนผ้าใบใช่วิธีการระบายสีลงไปแบบเรียบ
บางส่วนสร้างสรรค์เป็นเส้นนูนบริเวณดอกบัวและส่วนอื่นๆ
จากนั้นจึงติดต่อทองคำเปลวลงไป
ประเทือง เอมเจริญ
ผลงาน
รุ้งแม่น้ำโพสะหมายเลข 2 เนื้อหาของภาพสะท้อนให้เห็นถึงท้องทุ่งนาที่เต็มไปด้วยรวงข้าวอันเขียวขจีเบื้องบนคือดวงอาทิตย์ที่ส่องแสงลงมากระทบรวงข้าว
(คนไทยเชื่อว่ามีแม่น้ำโพสพสถิตอยู่ผิวน้ำเบื้องล่าง)
เทคนิค
รุ้งแม่น้ำโพสพหมายเลข 2 เป็นภาพวาดสีน้ำมันบนผืนผ้าใบโดยเน้นองค์ประกอบของทัศนธาตุ
ประวัติ
นายประเทือง เอมเจริญ ปัจจุบันอายุ ๗๐ ปี เกิดเมื่อวันที่ ๙ ตุลาคม
พุทธศักราช ๒๔๗๘ เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นศิลปินที่ศึกษาศิลปะด้วยตนเอง อย่างมุ่งมั่น อดทน ด้วยการศึกษาค้นคว้า งานทางศิลปะอย่างหนัก
ศึกษาปรัชญาชีวิตทั้งศิลปะของอินเดีย จีน และศึกษาธรรมชาติ
ศิลปินทัศนศิลป์สาขาประติมากรรม
ศิลปินต่างชาติ
Feancois Auguste Rene Rodin ฟร็องซัว โอกาสติด์ เรอเน รอแด็ง
ประวัติ
ฟร็องชัวส์ โอกุส (คริสต์ศักราช 1840-1917)
ประติมากรรมชาวฝรั่งเศสผู้มีความสามารถทางด้านศิลปะมาตั้งแต่วัยเยาว์แรงบันดาลใจของเขาได้รับมาแต่งานวรรณกรรมซึ่งนับเป็นปฏิมากรใหญ่คนหนึ่งของโลก
ผลงาน
The thinker แนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานชิ้นคือการถ่ายทอดให้เห็นถึงผู้ชายคนหนึ่งที่นั่งอยู่ในท่าคุดคู้มือข้างหนึ่งเท้าคางซอกขวากดเหนือเข่าซ้าย ประติมากรรมชิ้นนี้ได้ถูกนำมาใช้ในงานที่เกี่ยวข้องกับปรัชญาแง่คิดเป็นต้นแบบไปปั้นเป็นรูปนักคิดที่นำไปประดับในสถานที่ต่างๆ
เทคนิค
The thinker เป็นการปั้นและหล่อด้วยโลหะทำด้วยบรอนซ์และหินอ่อนวิธีการทำงานมีความสลับซับซ้อนมากเริ่มตั้งแต่การร่างภาพการปั้นคนด้วยดินเหนียวทำแม่พิมพ์และการถอดแม่พิมพ์จนถึงการเทโลหะบรอนซ์ลงภายในแม่พิมพ์
Michelangelo Di Lodovoco Buonarroti simom มิเกลันเจโล ดี โบโดวีโกบูโอนาร์โรตี ซีโมน
i
ประวัติ
มิเกลันเจโล คริสต์ศักราช 1475-1564 ปฏิมากรแห่งเมืองฟลอเรนซ์ประเทศอิตาลี
เขาถือว่าตนเองเป็นปฏิมากรเพราะรักและถนัดงานแกะสลักหินยิ่งกว่าสิ่งอื่นใด
ผลงาน
Pieta แนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้คือต้องการถ่ายทอดเหตุการณ์สำคัญทางศาสนาคริสต์ มิเกลันเจโลสร้างสรรค์ออกมาเป็นรูปแบบพระแม่กาลีประทับบนแผ่นหินกำลังประคองพระเยซูไว้บนตักหลังจากนำพระองค์มาจากไม้กางเขนด้วยท่าทางที่เศร้าสร้อย
เทคนิค
Pieta เป็นการนำหินอ่อนเนื้อสีขาวบริสุทธิ์มาแกะสลัก
โดยมีการออกแบบจัดวางองค์ประกอบต่างๆไว้ล่วงหน้าอย่างลงตัว
มีการเก็บรายละเอียดของกล้ามเนื้อเส้นเอ็นรวมทั้งองค์ประกอบอื่นๆ
เช่นรอยยับย่นของผืนผ้าที่สื่ออารมณ์ความรู้สึกได้อย่างสมจริง
ศิลปินไทย
ชิต เหรียญประชา
ประวัติ
ชิต เหรียญประชา พุทธศักราช2457-2537
ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) ประจำปีพุทธศักราช 2530
เป็นศิลปินอาวุโสและเป็นศิลปินชั้นเยี่ยมในการแสดงผลงานศิลปกรรมแห่งชาติ
ผลงาน
รำมะนา แนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานคือต้องการถ่ายทอดให้เห็นถึงรูปผู้ชายคนหนึ่งกำลังนั่งตีกลองรำมะนาซึ่งเป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่งเป็นผลงานที่ได้รับแรงบันดาลใจมาตากรูปแบบศิลปะไทยแต่ใช้วิธีนำเสนอใหม่ให้มีความผสมผสานกับรูปแบบ ศิลปะสมัยใหม่ของตะวันตก
เทคนิค
รำมะนาเป็นการแกะสลักจากไม้มะฮอกกานีด้วยสิวและค้อนมีการออกแบบจัดวางอย่างลงตัวและลักษณะเป็นแบบศิลปะไทยรูปร่างรูปทรงไม่เน้นความถูกต้องในการวิภาคแต่เน้นสัดส่วนที่ถูกต้องและลีลาท่าทางในการแสดงออกที่มีความพริ้วไหวเป็นธรรมชาติ
ธนะ เลาหกัยกุล
ประวัติ
ธนะ เลาหกัยกุลพุทธศักราช 2484-2553
ศิลปินชาวไทยผู้ไปสร้างขื่อเสียงในสหรัฐอเมริกาจนกระทั่งได้รับการยอมรับให้เป็นอาจารย์สอนศิลปะในมหาวิทยาลัยวอชิงตันอละมหาวิทยาลัยเท็กซัสได้รับรางวัลชนะเลิศจากการประกวดประติมากรรมต้นแบบอนุสาวรีย์สงครามเวียดนาม
ผลงาน
ธนะ เลาหกัยกุล พุทธศักราช 2484-2553
ศิลปินชาวไทยผู้ไปสร้างชื่อเสียงในสหรัฐอเมริกาจนกระทั่งได้รับการยอมรับให้เป็นอาจารย์สอนศิลปะมหาวิทยาลัยวอชิงตันและมหาวิทยาลัยเท็กซัส
ได้รับรางวัลชนะเลิศจากการประกวดประติมากรรมอนุสาวรีย์สงคราเวียดนาม
เทคนิค
ธนะ เลาหกัยกุล พุทธศักราช 2484-2553
ศิลปินชาวไทยผู้ไปสร้างชื่อเสียงในสหรัฐอเมริกาจนกระทั่งได้รับการยอมรับให้เป็นอาจารย์สอนศิลปะในมหาวิทยาลัยวอชิงตันและมหาวิทยาลัยเท็กซัสได้รับรางวัลชนะเลิศจากการประกวดประติมากรรมต้นแบบอนุสาวรีย์สงครามเวียดนาม
ศิลปินทัศนศิลป์สาขาสื่อผสม
ศิลปินไทย
มณเฑียร บุญมา
ประวัติ
มณเฑียร บุญมา พุทธศักราช 2496-2543
เป็นศิลปินที่มีบทบาทในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ประเภทสื่อผสมแนวการจัดวางโดยใช้วัสดุรูปแบบและเนื้อหาแบบไทยผสมผสานกับแบบตะวันตก
ผลงาน
เบ้าหลอมสำหรับจิตใจแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานคือต้องการถ่ายทอดผลงานสื่อผสมที่แสดงในรูปแบบ3มิติเพื่อให้ผู้ชมสามารถขมผลงานได้โดยรอบโดยหล่อเป็นเศียรพระพุทธรูปซึ่งมีก้านโลหะประดับอยู่ภายนอกในชุดมีผลงานย่อยอยู่3ชิ้นโดยได้นำแนวคิดที่เป็นพระพุทธรูปปรัชญามาสื่อไว้ในผลงานอีกด้วย
เทคนิค
เบ้าหลอมสำหรับจิตใจเป็นการใช้วัสดุประเภทโลหะและสมุนไพรเป็นหลักมีหลักการออกแบบที่สลับซับซ้อนโดยรูปลักษณ์ภายนอกเป็นศิลปะรูปขนาดใหญ่แต่เมื่อรอดเข้าไปอยู่ใต้เศียรพระพุทธรูปจะได้กลิ่นสมุนไพรโชยหอมกรุ่นจมูกประสาทสัมผัสของผู้ชมจะเสร็จได้ทั้งภาพและกลิ่น
เดชา วราชุน
ประวัติ
เดชา วราชุน พุทธศักราช ๒๔๘๘-ปัจจุบัน
ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ภาพพิมพ์และสื่อผสม
ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๕๐
ผลงาน
ความทรงจำหมายเลข1
แนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานคือต้องการนำเสนอลักษณะผลงาน
เป็นแบบนามธรรมหรือความคิดของศิลปินที่มีต่อสภาพสังคมปัจจุบันผลงานมีสถานะเป็น2มิติโดยเลือกใช้วัสดุที่เป็นโลหะชนิดต่างๆที่ตนคุ้นเคยและมีประสบการณ์นำมาสร้างสรรค์เป็นผลงาน
เทคนิค
ความทรงจำหมายเลข 1
เป็นการนำวัสดุที่เป็นโลหะเช่นแผ่นทองแดง ทองเหลืองอลูมิเนียมเป็นต้น
แล้วใช้เทคนิคการกัดแบบง่ายให้เกิดปฏิกิริยาลงบนพื้นผิวในลักษณะต่างๆ
จากนั้นนำมาประกอบวัสดุต่างๆเพื่อจำได้เห็นถึงความแตกต่างมิติและสื่อความหมาย
ศิลปินต่างชาติ
Henri Robert MarceIDuchamp อ็องรี รอแบร์ มาร์แชล ดูว์ช็อง
ประวัติ
อ็องรี รอแบร์ มาแชล ดูว์ช็อง คริสต์ศักราช 1887-1968
ศิลปินชาวฝรั่งเศสที่มีแนวความคิดในการนำวัสดุสิ่งของต่างๆ
ที่เหลือใช้มาสร้างสรรค์เป็นผลงานทัศนศิลป์โดยผลงานเน้นการสื่อความคิดหรือเป็นมโนทัศน์ศิลป์ มากกว่าความสวยงาม
ผลงาน
The Box in Valis
เทคนิค
The Box in Valise การใช้วัสดุหลากหลายชนิดนำมาผสมผสานกัน
โดยเป็นวัสดุที่หาได้ง่ายบางส่วนเป็นวัสดุเหลือใช้เช่นกล่องหนัง แผ่นเซลลูลอยด์ กระจก กระดาษเป็นต้นนำมาจัดวางผสมผสานกันตามการออกแบบอย่างเป็นขั้นตอนตั้งแต่การทำกล้องที่เปิดได้การออกแบบพื้นที่ภายในกล่องเพื่อสามารถจัดวางผลงานจำลองขนาดเล็ก
โรเบิร์ต เราเชนเบิร์ก
ประวัติ
โรเบิร์ต เราเชนเบิร์ก คริสต์ศักราช 1925-2008
เป็นศิลปินอเมริกาผู้มีชื่อเสียงในแนวศิลปะประชานิยม
ผลงาน
Minutiae แนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้คือต้องการถ่ายทอดเรื่องราวผ่านผลงานสื่อผสมขนาดใหญ่เพื่อสื่อถึงเพื่อนที่เป็นนักเต้นบัลเล่ต์ตัวผลงานมีสีสันที่สว่างสดใสโดยใช้แผ่นป้าย2แผ่นที่ตั้งแสดงอยากเป็นอิสระ
เทคนิค
Minutia เป็นการผสมผสานวัสดุต่างๆเช่นป้ายไม้ 5สีน้ำมัน กระดาษหนังสือพิมพ์ โลหะ เศษไม้ พลาสติก เพื่อสื่อถึงนักเต้นบัลเล่ต์ศิลปินได้ออกแบบว่าจะนำวัสดุชิ้นใดไปจัดวางไว้บริเวณใดหรือเชื่อมโยงเข้าหากันอย่างไรโดยคำนึงถึงความเป็นเอกภาพและความสมดุลในผลงาน