Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสภาพของกล้ามเนื้อกระดูก, ไ - Coggle Diagram
พยาธิสภาพของกล้ามเนื้อกระดูก
พยาธิสภาพของกระดูก
กระดูก ข้อ กล้ามเนื้อ เอ็น ระบบประสาท เป็นเนื้อเยื่อที่มีความแตกต่างกันแต่มีการทำงานเกี่ยวข้องประสานกัน
กระดูกช่วยในการคงรูปของร่างกาย เป็นแหล่งสะสมแคลเซี่ยมของร่างกายเป็นที่ยึดเกาะของเส้นเอ็นและกล้ามเนื้อ
กระดูกสำคัญต่อการเคลื่อนไหวของร่างกาย นำ้กหนักเบา
กระดูกยาว ทำหน้าที่ในการรับนำ้หนักและเคลื่อนไหวของร่างกาย กระดูกแบน ทำหน้าที่ป้องกันอวัยวะสำคัญอยู่ภายใน
เซลล์กระดูก จะไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ถ้าอยู่ห่างจากเส้นเลือด 0.1มม.
หน้าที่ของกระดูก
-เป็นแหล่งสะวมของ calcium
-ช่วยการเคลื่อนไหว
-สร้างเม็ดเลือด
-ปกป้องอวัยวะที่สำคัญภายในร่างกาย
เป็นที่ยึดเก่ะของเส้นเอ็นกล้ามเนื้อ
สาเหตุการเกิดพยาธิสภาพของกระดูก
-ความผิดปกติทางพันธุกรรม
-การติดเชื้อ
-ไม่ใช่การติดเชื้อ 1.ได้รับแสงกระแทกแตกหัก 2.ความเสื่อมตามวัย 3.ความเสื่อมจากพฤติกรรม 4.ความผิดปกติขององค์ประกอบอื่นที่สัมพันธ์กัน ได้แก่ กล้ามเนื้อ เส้นเอ็นระบบประสาท
พยาธิสรีรวิทยา osteoarthritis (OA)
พยาธิสภาพของโรคเกิดทั้งที่กระดูกอ่อนผิวข้อและกระดูกใต้กระดูกอ่อน ปกติแล้วกระดูกอ่อนผิวข้อจะขาวใสและเรียบเมื่ิเสื่อมจะกลายเป็นสีเหลืองขุ่น ผิวข้อจะเริ่มขรุขระและมีรอยแตก
สาเหตุ osteoarthritis (OA)
ยังไม่ทราบแน่ชัด เหตุส่งเสริมทีททำให้เกิดการเสื่อมของข้อ คือ การเสื่อมสภาพขอวกระดูกอ่อนที่รูปร่างข้อมีความผิดปกติไปจากการได้รับบาดเจ็บที่ข้อการใช้งานข้อมากเกินไปความอ้วนและกรรมพันธ์ุ เป็นต้น
ข้ออักเสบรูมารอย
เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดกับข้อที่บุด้วย synovial membrane เกือบทุกข้อทั่วร่างกายโดยพบว่ามักเป็นกับข้อเล็กๆ เช่น มือและเท้าโดยอาจมีการอักเสบที่ เอ็นกล้ามเนื้อ ผังผืด กล้ามเนื้อและอวัยวะอื่นๆ
การอักเสบติดเชื้อของกระดูก
เป็นการอักเสบติดเชื้อของกระดูกทุกชิ้น ตั้งแต่ bone marrow, cortex จนถึงชั้น periosteum ตำแหน่งที่พบว่ามีการติดเชื้อบ่อยในวัยผู้ใหญ่คือ กระดูกสันหลัง เท้าและกระดูกต้นขา
การรักษา
จัดให้อวัยวะส่วนที่มีพยาธิสภาพอยู่นิ่งมากที่สุด เพื่อให้การอักเสบอยู่ในวงจำกัดไม่ลุกลามไปที่ข้อใกล้เคียง
การให้ยาปฏิชีวนะ
ให้นำ้เกลือกรณีเกิดภาวะขาดดุลของนำ้เกลือและเกลือแร่
ทำการผ่าตัดเอาหนองออก
โรคกระดูกพรุน
เป็นโรคเกิดจากมวลกระดูกมีความหนาแน่นลดลงทำให้กระดูกเกิดการเปราะบางและแตกหักได้ง่าย
-โรคกระดูกพรุนปฐมภูมิที่เกิดจากการสูญเสียมวลกระดูกจากอายุที่เพิ่มมากขึ้นหรือไม่ทราบสาเหตุ
-โรคแบบทุติยภูมิที่เกิดจากการสูญเสียมวลกระดูกจากพฤติกรรม โรคหรือการใช้ยา
สาเหตุโรคกระดูกพรุน
1.การขาดฮอร์โมนเอสโตรเจน 2.การหมดประจำเดือน 3.การรับประทานยาที่ทำให้เกิดโรคกระดูกพรุน 4.ริโคติน 5.การออกกำลังกายน้อยหรือขาดการออกกำลังกาย 6.การรับประทานอาหารประเภทโปรตีนจากสัตว์ในปริมาณมาก 7.พาราไทรรอยด์ทำงานมากผิดปกติ
การรักษาโรคกระดูกพรุน
ในกรณีที่ยังไม่ทททีการหักของกระดูก มักให้การรักษาโดยการใช้ยารักษาโรคกระดูกพรุนแบ่งเป็น2ประเภทเช่น
-ยากลุ่มที่ยับยั้งการสลายของกระดูก
-ยากลุ่มที่กระตุ้นการสร้างกระดูก
เก๊าท์ Gout arthritis
เป็นโรคที่มีการอักเสบของข้อชนิดเป็นๆ หายๆ จากการที่มีกรดยูริคในเลือดมาก โดยส่วนใหญ่พบในชายวัยกลางคนและหญิงวัยหมดประจำเดือน
สาเหตุการเกิดโรคเก๊าท์
-primary gout ชนิดนี้ส่วนใหญ่เกิดกับผู้ชายวัยสูงอายุ าเหตุที่แท้จริงไม่ทราบแน่ชัดอาจเกิดจากไตไม่สามารถจำกัดกรดยูริคออกกได้ตามปกติจึงเป็นเหตุ
-secondary gout เกิดในผู้ป่วยที่เป็นโรคที่มีผลิตสารพิวรีนเพิ่มขึ้นให้มีการสังเคราะห์กรดพิวริคมากขึ้น พบมากในผู้ป่วยที่เป็นลิวคีเมีย
มะเร็งกระดูก
-มะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ คือ มะเร็งที่เริ่มเกิดขึ้นในกระดูกโดยมากจะหมายถึงพวก sarcoma
สาเหตุ -ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าเกิดจากสาเหตุใด แต่มีปัจจัยที่อาจมีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรค ได้แก่ ความผิดปกติของยีน ปัจจัยด้านกายภาพ ปัจจัยด้านการติดเชื้อ
-มะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ คือมะเร็งที่แพร่กระจายจากอวัยวะอื่นมายังกระดูก หรือ carcinoma
เป็นมะเร็งที่พบได้บ่อยในผู้ที่มีอายุมากกว่า 40 ปีจุดกำเนิดมักมาจากมะเร็งเต้านม มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งปอดและมะเร็งไต
พยาธิสภาพของกล้ามเนื้อ
-กล้ามเนื้อจะเป็นเนื้อเยื่อที่มีความทนต่อสิ่งที่มีมารบกวนหรือทำให้เกิดอันตราย โดยเฉพาะเมื่อเส้นประสาทและเส้นเลือดที่มาเลี้ยงอยู่ในสภาพสมบูรณ์
-กล้ามเนื้อจะมีการปรับตัวเองให้ใหญ่ขึ้นหรือเล็กลงตามขนาดการใช้งาน
โรคกล้ามเนื้อลีบ
โรคนี้มีสาเหตุมาจากการขาด muscle membrane protein ผนังเซลล์กล้ามเนื้อที่ผิดปกติจะทำให้เซลล์เกิดอันตราย ไม่มีวิธีการรักษาทำได้เพียงช่วยยืดเวลาให้เคลื่อนไหวและหายใจได้เองให้นานที่สุด
กล้ามเนื้ออ่อนแรงจากความผิดปกติของระบบประสาท เป็นโรคที่มีอาการอ่อนแรงและอ่อนล้าของกล้ามเนื้อลาย เนื่องจากมีความผอิดปกติที่บริเวณนรอยต่อระหว่างปลายประสาทและกล้ามเนื้ิอ
อาการและอาการแสดง มีอาการอ่อนแรงอ่อนล้าของกล้ามเนือทำงานติดต่อกันแต่ถ้าได้พักอาการจะดีขึ้นกลุ่มกล้ามเนื้อที่พบความผิดปกติแรกๆได้แก่ กล้ามเนื้อตาและใบหน้า
กล้ามเนื้ออ่อนแรงจากความผิดปกติของระบบผลิตพลังงานและต่อมไร้ท่อ
-ความผิดแกติที่เกิดจากความบกพร่องในการสะสมไกลโคเจนและการสลายกลูโคส
-ความผิดปกติจากต่อมหมวกไต
ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์
ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อในตับอ่อน เช่นเบาหวาน
ไ