Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับการบาดเจ็บของอวัยวะและภาวะ Shock,…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับการบาดเจ็บของอวัยวะและภาวะ Shock
การพยาบาลผู้ป่วยในภาวะช็อก
ระยะของภาวะช็อก (stages of shock)แบ่งเป็น 3 ระยะ ดังนี้
1.ระยะปรับชดเชย (compensatory stage)เป็นระยะที่ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจใน 1นาที(cardiac output) ลดลง
2ระยะก้าวหน้า(progressive stage)เป็นระยะที่กลไกการปรับชดเชยของร่างกายในระยะปรับชดเชยถ้ายังไม่ได้รับการแก้ไข
ระยะไม่สามารถฟื้นคืน(irreversible stage)เป็นระยะสุดท้ายของช็อก
ชนิดของภาวะช็อก แบ่งตามสาเหตุ ได้ดังนี้
ช็อกจากการเสียเลือดและน้ํา (hypovolemic shock)เป็นภาวะช็อกที่พบได้บ่อยที่สุดเกิดจาก venous return ลดลง หรือ preload ลดลงซึ่งมีสาเหตุจากการลดลงของปริมาตรสารน้ําหรือเลือดในระบบไหลเวียนเลือด
ช็อกจากหัวใจ (cardiogenic shock) ช็อกจากความผิดปกติของหัวใจทําให้ความสามารถในการบีบตัวของหัวใจเพื่อนําเลือดไปเลี้ยงร่างกายในส่วนต่างๆได้ลดลงเกิดจากโรคหรือความผิดปกติของหัวใจ ทําให้ไม่สามารถบีบตัวได้ตามปกติ
3.ช็อกจากการกระจายของเลือดผิดปกติ (distributive shock)เป็นภาวะช็อกที่มีลักษณะคล้ายกับ hypovolemic shock คือมีปริมาณการไหลเวียนเลือดในร่างกายไม่เพียงพอ
ภาวะแทรกซ้อนของภาวะช็อก (Complications of shock)
ระบบหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน(acute respiratory distress syndrome: ARDS)
ไตวายเฉียบพลัน(acute kidney injury)
ภาวะลิ่มเลือดกระจายทั่วไปในหลอดเลือด(disseminated intravascular coagulation: DIC)
อวัยวะล้มเหลวหลายระบบ(multiorgandysfunction syndrome: MODS)
อวัยวะในช่องท้องขาดเลือด
การรักษาภาวะช็อก
การให้ O2ที่เพียงพอและเหมาะสม
การให้ preload อย่างเหมาะสม
การลด Afterloadโดยช่วยลดแรงต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลาย ด้วยการใช้ยา-Sodium nitroprusside
4.การส่งเสริมการทํางานของหัวใจ
การให้ Bicarbonate therapy
6.การรักษาร่วมอื่นๆได้แก่การรักษาภาวะ anemia การควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด รวมทั้งการรักษาภาวะ adrenal insufficiency ที่อาจเกิดร่วมได้
การรักษาสาเหตุโดยต้องทําคู่ไปกับการช่วยเหลือผู้ป่วยที่กําลังเกิดภาวะช็อก
ช็อกเป็นภาวะการเจ็บป่วยฉุกเฉินที่คุกคามต่อชีวิต (life-threatening) ผู้ป่วยบางรายมีโรคประจําตัวร่วมด้วย เช่น เบาหวาน โรคหัวใจ มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่ายขึ้น ทําให้ร่างกายหรืออวัยวะที่สําคัญได้แก่ สมอง หัวใจ ปอด ได้รับออกซิเจน และสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการ เป็นสาเหตุสําคัญที่ทําให้เกิดการล้มเหลวของอวัยวะหลายระบบได
การบาดเจ็บทรวงอก (Chest injuries)
ภาวะอกรวน(Flail chest)มายถึง ภาวะที่มีการสูญเสียความคงตัวของผนังทรวงอก
เกิดเนื่องจากทรวงอกถูกแรงกระแทก(blunt chest trauma) จนทําให้มีกระดูกซี่โครงซึ่งอยู่ชิดกันหัก3 ซี่หรือมากกว่าขึ้นไปและหักซี่ละ 2-3 ตําแหน่ง
พยาธิสรีรวิทยา
ทรวงอกถูกแรงกระแทกจนทําให้มีกระดูกซี่โครง หรือกระดูกหน้าอกหักหลายซี่และแต่ละซี่หักมากกว่า 2แห่งขึ้นไป ทําให้เกิดส่วนลอยของผนังทรวงอก ทรวงอกส่วนนั้นไม่คงตัว เมื่อหายใจเข้าผนังทรวงอกส่วนนั้นจะยุบลง
การรักษา
1.การดูแลในเรื่องระบบการหายใจ
2.จํากัดการให้น้ําหรือสารละลายเกลือแร่ทางหลอดเลือดดํา
3.พิจารณาให้ยาขับปัสสาวะ (diuretics)
4.การรักษาอาการเจ็บปวดเนื่องมาจากการหักของกระดูกซี่โครง
5.ระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นในภาวะอกรวน
ภาวะเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด (Hemothorax)
เป็นภาวะที่พบได้บ่อยอย่างหนึ่งในการบาดเจ็บทรวงอก พบได้ทั้งในกรณีของ blunt chest injury และ penetrating chest injury ก่อให้เกิดการเปลี่ยน แปลงได้ในทั้ง 2ระบบ คือ 1.สามารถเกิดอาการช็อกได้จากการเสียเลือด
2.เมื่อปริมาณเลือดที่เข้าไปอยู่ในช่องเยื่อหุ้มปอดจํานวนมาก จะทําให้ปอดไม่สามารถขยายตัวได้ดีมีผลต่อระบบการหายใจ
การรักษา
จะต้องรีบทําการรักษาด้วยการให้สารละลายเกลือแร่และเลือด เพื่อทดแทนปริมาณเลือดที่สูญเสียเข้าไปภายในช่องเยื่อหุ้มปอ
ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pneumothorax)
ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอดพบได้ในผู้ที่ได้รับบาดเจ็บทรวงอกทั้งใน blunt chest injury หรือ penetrating chest injury และรวมทั้งพวกที่มี sucking chest wound
การแบ่งชนิดตามลักษณะการรั่วของลมได้เป็น 3ชนิด
1.ภาวะที่มีลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอดธรรมดา (Simplepneumothorax)
2.ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอดที่ติดต่อกับภายนอก (Open pneumothorax)
3.ภาวะที่มีลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอดมากจนเกิดความดันบวก (Tension pneumotharax)
ภาวะหัวใจถูกบีบรัด (Cardiac tamponade)
ภาวะนี้เกิดจากการการถูกกดเบียดของหัวใจ จากวารน้ําหรือเลือดภายในเยื่อหุ้มหัวใจ(pericardial sac)มักเกิดจากการบาดเจ็บแบบpenetrating injury มากกว่าใน blunt injury และมีอตราการเสียชีวิตได้สูง เยื่อหุ้มหัวใจซึ่งเป็น fibrous ที่ไม่ยืดหยุ่น เมื่อมีเลือดออกทําให้ความดันในpericardial cavity สูงขึ้นทําให้การทํางานของหัวใจด้านขวาลดลงคือไม่สามารถคลายตัวเพื่อรับเลือดดําจากส่วนต่างๆของร่างกายได้ (decrease venous return) และมีผลทําให้ cardiac output ลดลง ผู้ป่วยก็จะเกิดภาวะ shock ได้
การรักษาเฉพาะเจาะจงสําหรับ cardiac tamponade
การเข้าห้องผ่าตัดฉุกเฉินเพื่อเปิด pericardial cavity
หาตําแหน่งที่มีเลือดออก
ย็บซ่อมกล้ามเนื้อหัวใจ โดยผ่านทาง thoracotomy หรือ median sternotomy
นางสาวนิภาพร จรบุรมย์
รหัส 116212201017-3