Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Heart Disease in Pregnancy, images (6), download (1), images (8), images…
Heart Disease in Pregnancy
ชนิดของโรคหัวใจ
โรคหัวใจรูมาติก (Rheumatic heart disease)
โรคหัวใจที่มีภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertensive heart
disease)
โรคหัวใจขาดเลือด (Ischemic heart disease)
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ (cardiomyopathy)
หัวใจเต้นผิดปกติ (Arrthymias)
*โรคหัวใจแต่กำเนิดมี 3 กลุ่ม
กลุ่มที่มีอาการตัวเขียว (Cyanosis)
กลุ่มที่มีแรงดันสูง (pressure overload)
กลุ่มที่มีปริมาตรเลือดเกิน (Volume overload)
การจำแนกความรุนแรงของโรคหัวใจ
Class I Uncompromised
Class II Slightly compromised
Class III Markedly compromised
Class VI Severely compromised
ผลการตั้งครรภ์ต่อโรคหัวใจ
การวินิจฉัยยากขึ้น
Cardiac Output เพิ่มขึ้น 30-50 %
Heart rate จะเพิ่มขึ้น10-20 ครั้ง/นาที
Blood volume เพิ่มขึ้น
Stroke volume เพิ่มขึ้นทำให้ end diastolic เพิ่มขึ้น
Vascular and cardiac pressure
ผลของโรคหัวใจต่อการตั้งครรภ์
แท้งบุตร
คลอดก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกตายในครรภ์
ทำให้คลอดง่ายและเร็วเนื่องจากทารกตัวเล็ก
ทารกเกิดโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
อาการและอาการแสดง
อาการ
Severe progressive dyspnea
Progressive orthopnea,
Paroxymal noctonal dyspnea
Hemoptysis
Syncope with exertion
อาการแสดง
Clubbing of fingers
Persistent neck vein distension
Systolic murmur
Sustained arrhythmia
Persistent splint second sound
Criteria for pulmonary hypertension
Diastolic murmur
Cardiomegaly
Cyanosis
การตรวจพิเศษ
การตรวจคลื่นหัวใจ
การใส่สายสวนหัวใจ
ภาพรังสีทรวงอก
Exercise tolerance test
Echocardiography
การรักษาด้วยยา
1.ยารักษาหัวใจล้ม เหลว
Digoxin *ระวังเรื่องภาวะ hypokalemia
hydralazine *ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์
beta-blocker
2. ยารักษาอาการ
หัวใจเต้นผิดปกติ
quinidine ควรเฝ้าระวังระดับยาในเลือด
3. ยารักษาลิ่มเลือดอุดตัน
Unfractionated heparin (UFH)
low-molecular weight heparin (LMWH)
warfarin
การให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์และการคลอดกับโรคหัวใจ
ภาวะแทรกซ้อน
การพยากรณ์โรค
การถ่ายทอดโรคทางพันธุกรรม
ประเมินความเสี่ยงของตนเอง
การยุติการตั้งครรภ์
ขูดมดลูก
การใช้ prostaglandin E1 หรือ E2
การใช้ saline abortion (ไม่นิยม)
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ
ระยะตั้งครรภ์ (Prenatal care)
ㆍแนะนำให้มาฝากครรภ์ตั้งแต่ทราบว่าตั้งครรภ์ Class I, Il
สามารถตั้งครรภ์จนครบกำหนดได้
ㆍการนัดตรวจครรภ์ ก่อน 28 wks นัด 2 wk
ภายหลัง 28 wks นัดทุก 1 wks
ㆍควรได้รับการดูแลจากอายุแพทย์
ㆍ ประเมิน Functional class ทุกครั้ง
ㆍดูแลภาวะ anemia ถ้า hemoglobin น้อยกว่า 10.5 g/dL
ㆍ แนะนำให้นอนพักมากกว่า 10 ชม.
ㆍ ควบคุมน้ำหนักไม่เกิน 10 กก.
ㆍ แนะนำให้หยุดสูบบุหรี่หรือ สุรา
ㆍ ระมัดระวังการติดเชื้อ
ㆍ Functional class เลวลงให้นอน รพ.
ระยะรอคลอด
เตรียมคลอด 1-2 wks ก่อนคลอด
การใช้ยาระงับปวด
หากเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว อาจพบ
Pulmonary edema,hypoxia และBP ต่ำ
ต้องรักษาตามความรุนแรงของโรค
Vital signs
Fetal monitoring
หากเกิด Premature labor pain >>>Inhibit
นอนในทำตะแคงยกูศีรษะสูงระอะรอคลอด
วิธีการคลอด แนะนำให้คลอดทางช่องคลอด C/S ตามข้อบงชี้
การจัดท่าคลอดในท่า Fowler position ในระยะคลอด
ถ้าคลอดทางช่องคลอด ช่วยคลอดด้วย V/E or F/E
ภาวะหัวใจล้มเหลว ต้องรักษาตามชนิดและความรุนแรงของโรค
Vital signs
ระยะหลังคลอด
การดูแลอย่างใกล้ชิดป้องกันการตกเลือด,ติดเชื้อ
การให้นมบุตร
การคุมกำเนิด
Class lll,lV
การพยาบาล
ป้องกันไม่ให้หัวใจทำงานหนักเพิ่ม
ให้ผู้ป่วยและครอบครัวซักถามและอธิบาย
แนะนำการปฏิบัติตัว
ㆍลดการทำงานปกติ
ㆍ อาหาร (ลดแป้ง ไขมัน เกลือ)
ㆍปรับพฤติกรรมทางเพศ
ㆍ เน้นมาฝากครรภ์
ㆍป้องกันการติดเชื้อ
ㆍแนะนำการได้รับยา
ㆍแนะนำการนับลูกดิ้น
ㆍพักผ่อน
ลดการทำงานของหัวใจและป้องกันภาวะ
หัวใจวาย
ระยะรอคลอด
ㆍดูแลผู้คลอดอย่างใกล้ชิด
ㆍ นอนศีรษะสูง
ㆍสังเกตอาการเริ่มต้นของหัวใจวาย
ㆍVital signs
ㆍAntibiotic (benzatine penicillin, ampicillin)
ㆍยาเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจ (Digoxine)
ระยะเบ่งคลอด
ㆍ นอนท่าศีรษะสูงแยกขาออกในแนวราบ
ㆍช่วยแพทย์ทำหัตถการ
ㆍ ฟังเสียงหัวใจทารก
ㆍ เตรียมช่วยเหลือทารก
ระยะคลอดรก
ㆍกดหน้าท้องเหนือสะดือ
ㆍดูแลการได้รับยา oxytocin งด methergin
ㆍดูแลการได้รับเลือด