Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการสำคัญของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีหลักการอย่างไร - Coggle…
หลักการสำคัญของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีหลักการอย่างไร
หลักการของการดำเนินงานอาชีวอนามัย
การตระหนัก (Recognition)
การคาดการณ์หรือหยั่งรู้ถึงสาเหตุของการเกิด อุบัติเหตุ อันตราย หรือโรคจากการทำงาน ซึ่งอาจส่งผลต่อผู้ปฏิบัติงาน โดยอาศัยทฤษฎีของการเกิดอุบัติเหตุของH.W. Heinrich
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุและโรคจาการทำงาน
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Action)
เป็นการกระทำของผู้ปฏิบัติงานเอง
สภาพแวดล้อมในการทำงานที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Condition)
การทำงานในสภาพที่มีเสียงดัง ความสั่นสะเทือน ความร้อน ความเย็น รังสี แสงสว่าง ความกดดันบรรยากาศ
การประเมิน (Evaluation)
การประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ผู้ปฏิบัติงานสัมผัสว่ามีศักยภาพ
แนวโน้ม หรือโอกาสที่จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุและโรคจากการทำงานนั้นหรือไม่
การประเมินแบ่งออกเป็น
การประเมินด้านสิ่งแวดล้อม
การประเมินโดยใช้เครื่องมือทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรมในการประเมิน
การประเมินอันตรายด้านกายภาพ เคมี และชีวภาพ
โดยใช้เครื่องมือวัดต่างๆ
การประเมินความปลอดภัยของ เครื่องจักร เครื่องมือ ไฟฟ้ากระบวนการผลิต อุปกรณ์ต่างๆ จะ
ใช้วิธีการประเมินความเสี่ยงในการประเมิน
การประเมินความเสี่ยงโดยใช้เทคนิค Checklist , What if analysis, Fault Tree Analysis, Event Tree Analysis, FMEA หรือ HAZOP
การประเมินด้านสุขภาพ
เป็นการประเมินสภาวะสุขภาพของคนงาน โดยการนำคนงานไปตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน ตรวจสุขภาพขณะทำงานหรือตรวจสุขภาพประจำปี การตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับ เพื่อเป็นการ
คัดเลือกคนให้เหมาะสมกับงาน รวมทั้งเป็นการป้องกันควบคุมอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน เช่น การตรวจสมรรถภาพ
การมองเห็น การตรวจสมรรถการได้ยิน การตรวจสมรรถภาพปอด เป็นต้น
การควบคุม (Control)
การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการท างานให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงานให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย ดังนั้นต้องมีการด าเนินการป้องกันและควบคุมอันตราย โดยการใช้วิธีการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการควบคุมอันตราย
หลักการของความปลอดภัย
การส่งเสริมและดำรงไว้ (promotion and maintenance)
งานที่เกี่ยวกับการส่งเสริม และธำรงค์รักษาไว้ซึ่งสุขภาพ ทั้งร่างกาย จิตใจที่แข็งแรง สมบูรณ์ของผู้ประกอบอาชีพ ตลอดจนความเป็นอยู่ที่ดีร่วมกันในสังคมของผู้ประอาชีพตามสภาพที่พึงมีได้
การป้องกัน (prevention)
การป้องไม่ให้ผู้ประกอบอาชีพมีสุขภาพอนามัยเสื่อมโทรม หรือผิดปกติไปจากเดิม อันมีสาเหตุมาจากสภาพแวดล้อมจากการทำงาน
การป้องกันคุ้มครอง (protection)
การปกป้องคุ้มครองไม่ให้ผู้ประกอบอาชีพทำงานที่เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากการทำงาน ทั้งจากอุบัติเหตุ หรือโรค
การจัดงาน (placing)
การจัดการเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมให้มีความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพร่างกาย และจิตใจของผู้ประกอบอาชีพ หรือแรงงานให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้
การปรับ (adaptation)
การปรับงานให้เหมาะสมกับการคน และปรับคนให้เหมาะสมกับสภาพการทำงาน