Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายลักษณะหนี้ - Coggle Diagram
กฎหมายลักษณะหนี้
กรณีการอันพึงต้องท าเพื่อช าระหนี้บางประการ
ตกเป็นพ้นวิสัย ก่อน มีการเลือก (ม. 202)
11
–ไม่ได้เกิดจากความผิด
ของผู้ไม่มีสิทธิเลือก
กฎหมายจ ากัดหนี้
(จ ากัดการเลือก)
เท่าที่ไม่พ้นวิสัย
–เกิดจากความผิด
ของผู้ไม่มีสิทธิเลือก
กฎหมายไม่จ ากัดหนี้
(ไม่จ ากัดการเลือก)
= ผู้มีสิทธิเลือก อาจเลือกการที่เป็น
พ้นวิสัยเป็นการช าระหนี้ได้
(3) กำรอันพึงช ำระหนี้มีหลำยอย่ำง
= หนี้ที่เลือกช าระได้ (alternative obligation)
= หนี้ที่ลูกหนี้ต้องช าระหนี้มีหลายอย่าง แต่ลูกหนี้
จะต้องท าการช าระหนี้เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
(หนี้ที่ต้องเลือก)
– วิธีการเลือก (มาตรา 198 - มาตรา 201)
– กรณีการอันพึงต้องท าเพื่อช าระหนี้บางประการ
ตกเป็นพ้นวิสัย (ก่อนการเลือก) มาตรา 202
หลัก : การก าหนดวัตถุแห่งหนี้ให้แน่นอน
กรณีทรัพย์ซึ่งเป็นวัตถุแห่งหนี้เป็นทรัพย์ที่ไม่แน่นอน
(ม.195)
กรณีการช าระหนี้เงินตราต่างประเทศ
(ม.196- ม.197)
กรณีการช าระหนี้มีหลายอย่าง : หนี้ที่ต้องเลือก
(ม.198 – ม.202)
ศ.ดร
ผลของการเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่ง
และการเป็นทรัพย์ทั่วไป
ผลเกี่ยวกับการโอนกรรมสิทธิ์ (ม.458)
(ฎีกาที่ 339/2506, 455/2518, 468/2532)
ผลเกี่ยวกับภัยพิบัติหรือการเสี่ยงภัย (ม.370)
ผลเกี่ยวกับการพ้นวิสัยในการช าระหนี้ (ม.202,217,218,219)
(ฎีกาที่ 711/2486, 462/2493, 2046/2531, 434/2531)
ผลของการเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่ง
และการเป็นทรัพย์ทั่วไป
ผลเกี่ยวกับหน้าที่ในการรักษาทรัพย์ (ม.323 วรรคสอง)
ผลเกี่ยวกับสภาพของทรัพย์ส่งมอบ (ม.323 วรรคหนึ่ง)
ผลเกี่ยวกับสถานที่ส่งมอบทรัพย์ (ม.324)
วัตถุแห่งหนี้
• การช าระหนี้ (มาตรา 194)
• เนื้อหาของการช าระหนี้ : สิ่งที่ลูกหนี้ต้องช าระหนี้
• หลักการก าหนดให้วัตถุแห่งหนี้แน่นอน
(มาตรา 195 ถึงมาตรา 202)
• เพื่อการใช้สิทธิเรียกร้องให้ลูกหนี้ช าระหนี้ได้ถูกต้อง
(ความรับผิดของลูกหนี้)
(2) หนี้เงินที่แสดงไว้เป็นเงินตรำต่ำงประเทศ ม.196
= ลูกหนี้มีสิทธิเลือกจะช าระเป็นเงินไทยก็ได้
โดยคิดอัตราแลกเปลี่ยนเงิน ณ สถานที่และเวลาที่ใช้เงิน
(ฎีกาที่ 5020/2547, ที่ 568/2548, ที่ 2863/2559)