Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบต่อมไร้ท่อและโรคเบาหวาน, นาสาวปานชนก รักษาภายในUDA6380005 - Coggle…
ระบบต่อมไร้ท่อและโรคเบาหวาน
หน้าที่ของต่อมไร้ท่อ
ควบคุมอวัยวะ หรือเนื้อเยื้ออื่นๆ ของร่างกาย เช่น การเจริญเติบโต
กระดูก เกลือแร่และ เมตะบอลิสมต่าง ๆ
ควบคุมต่อมระบบไร่ท่ออื่นๆ เช่น ต่อมใตสมองควบคุมต่อมหมวกไต ต่อมไทรอยด์ รังไข่ อัณฑะ เป็นต้น
โรคเบาหวาน
เบาหวานชนิดที่ 1 (Type 1 Diabetes) ,เบาหวานพึ่งอิน ซูลิน ( insulin –
dependent diabetes mellitus:IDDM)
การรักษา
เกิดจากการที่ร่างกายมีปฏิกิรยิาต่อต้านเซลล์ของตับอ่อนที่ทําหน้าที่
ผลิตอินซูลิน ทําใหไ้ม่สามารถผลิตอินซูลิน
ควบคุมอาหาร
ออกกำลังกาย
ฉีดอินซูลิน
การป้องกัน
ขณะนี้ยังไม่มีวิธีป้องกัน
เบาหวานชนิดที่2(Type2Diabetes),เบาหวานชนิดไม่พงอินซูลิน
(noninsulin–dependent diabetesmellitus:NIDDM) :
กลุ่มเสี่ยง
น้ำาตาลสะสม (HbA1c) มากกว่าหรือเท่ากับ 5.7-6.4 %
น้ำตาลหลังอดอาหารข้ามคืน (มากกวา่ 8 ชั่วโมง) มากกว่า หรือ เท่ากับ 100-125 มิลลิกรัม /เดซิลิตร
น้ำตาล 2 ชั่วโมง หลังทดสอบความทนของกลูโคส (oral glucose tolerance test) มากกว่า หรือเท่ากับ 140-199
มก/ดล
อาการ
กระหายน้ำบ่อย ปัสสาวะบ่อย ผอมลง น้ำหนักลด
อ่อนนเพลีย ตามัว แผลหายช้า
การป้องกัน
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
การรักษา
ยาอื่น เช่น α-glucosidase inhibitors, bromocriptine, colesevelam, and pramlintide
ยารักษาตัวแรก ที่ควรให้ถ้าไม่มีข้อห้าม คือ metformin (A rating)
เมื่ออยาตัวแรกไม่ได้ผล อาจใช้ยาตัวที่2 ได้หลายชนิด เช่นsulfonylureas, thiazolidinediones, dipeptidyl peptidase-4 inhibitors, sodium–glucose cotransporter 2
(SGLT2) inhibitors, glucagon-like peptide-1 (GLP-1) agonists, or basal insulin
Basal insulin เริ่มที่ 10 units หรือ0.1 to 0.2 units/kg of body
weight.
Bolus insulin เชน่ regular insulin หรอื insulin analogues ออกฤทธิ์เร็ว ลดน้ำตาลตามมื้ออาหาร
อินซูลินใช้เมื่อระดับน้ำตาลสูงมาก มีอาการรุนแรง เลือดเป็นกรด
ต่อมพาราไทรอยด์และไทรอยด์ผิดปกติ
อาการ
ปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำ ไตทำงานหนัก
มีอากาปวดท้องบ่อยๆ หรือมีอาการทางจิตเวช
การรักษา
การฉีดแอลกอฮอล์ที่เนื้อกเพื่อใหเ้นื้องอกฝ่อ
รับประทานยา
การผ่าตัดเนื้องอกออก
การป้องกัน
ไม่สามารถป้องกันได้มีเพียงการตรวจเลือดเพื่อเฝ้า
ระวังเท่านั้น
เนื่องจากโรคนี้พบไม่บ่อย
โรคพาราไทรอยด์
โรคไทรอยด์
อาการ
การรักษา
ค้นหาปัจจัยกระตุ้น เช่น การติดเชื้อ
แก้ไขตามอาการ
ให้ฮอร์โมนทดแทน
การตรวจวินิจฉัย
คารบ์อนไดออกไซด์หลั่งโคเลสเตอรอลสูง
ซีดแบบเม็ดเลือดแดงใหญ่ Macrocytic anemia
หัวใจโต
1.T3,T4ต่ำ ส่วน TSH สูงหรือไม่สูง ในรายทําได้รับยา dopamine , corticosteroid
2.ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ เม็ดเลือขาวต่ำ ออกซิเจนในเลือดต่ำ
นอนไม่หลับ
ง่วงตลอดเวลา
อ้วนหรือผอมเร็วกว่า ปกติ
หิวบ่อยหรือไม่หิวเลย
ผมร่วง
ขับถ่ายไม่ปกติ
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ใจสั่น
หนาวตลอดเวลาหรือขี้ร้อนมากขึ้น
ผิวแห้ง
Pituitary
Posterior
Antidiuretic hormone ADH= ไต
Oxytoxin=มดลูก
Anterior
Growth hormone GH = กระดูกและกล้ามเนื้อ
adrenocorticotropichormoneACTH=ต่อมหมวกไต
Thyroid stimulating hormone THS=ต่อมไทรอยด์
FHS,LH=รังไข่และอณัฑะ
Prolactin=เต้านม
นาสาวปานชนก รักษาภายในUDA6380005