Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Heart Disease in Pregnancy, image, image, image, image, image, image,…
Heart Disease in Pregnancy
การจำแนกความรุนแรงของโรคหัวใจ แบ่งตาม NYHA (The New York Heart Association)
•Class I: Uncompromised สามารถทำกิจกรรมตามปกติโดยไม่มีอาการอ่อนเพลีย หอบเหนื่อย ใจสั่น อาการเจ็บอก (angina pain)
•Class II: Slightly compromised สบายเวลาพัก แต่ถ้าทำกิจกรรมตามปกติจะเริ่มมีอาการเหนื่อย ใจสั่น หรือ เจ็บอก (angina pain)
•Class III: Markedly compromised จะสบายเวลาพัก แต่ถ้าทำกิจกรรมตามปกติเพียงเล็กน้อยจะเริ่มมีอาการเหนื่อย ใจสั่น หรือ เจ็บอก (angina pain)
•Class IV: severe compromised ไม่สามารถทำ physical activity ใด ๆ แม้ขณะพักก็จะมีอาการหอบเหนื่อย ใจสั่น หรือ เจ็บอก ได้
ผลการตั้งครรภ์ ต่อโรคหัวใจ
การวินิจฉัยโรคยากขึ้น
Cardiac out put เพิ่มขึ้น 30-50%
Heart rate เพิ่มขึ้น 10-20 ครั้ง/นาที
Blood volume เพิ่มขึ้น
Stroke volome เพิ่มขึ้นทาให้ end diastolic เพิ่มขึ้น
Vascular and cardiac pressure
ผลโรคหัวใจ ต่อการตั้งครรภ์
แท้งบุตร
คลอดก่อนกาหนด
IUGR
ทารกตายในครรภ์
คลอดง่ายเนื่องจากทารกตัวเล็ก
ทารกเกิดหัวใจพิการแต่กาเนิด
การให้คำปรึกษาก่อนตั้งครรภ์
ประเด็นที่ให้ปรึกษาดังนี้
•การตั้งครรภ์และการคลอดกับโรคหัวใจ
•ภาวะแทรกซ้อน
•การพยากรณ์โรค
•การถ่ายทอดโรคทางกรรมพันธุ์
•การประเมินความเสี่ยงของตนเอง
อาการและอาการแสดงของโรคหัวใจ
อาการ
•Severe progressive dyspnea หายใจลำบาก
•Progressive orthopnea กระดูกพรุน
•Paroxymal noctonal dypnea หายใจลำบากช่วงกลางคืน
•Hemoptysis ไอเป็นเลือด
•Syncope with exertion เป็นลมหมดสติ
อาการแสดง
•Cyanosis เขียว
•Clubbing fingers นิ้วคลับ
•Persistent neck vein distension เส้นเลือดขอดที่คอ
•Systolic murmur
•Diastolic murmur
•Cardiomegaly
•Sustained arrhythmia
•Persistant splint second sound
•Pulmonary hypertension ความดันในปอดสูง
การตรวจพิเศษ
•การตรวจคลื่นหัวใจ
•ภาพรังสีทรวงอก
•Echocardiography
•Exercise tolerance test
• การใส่สายสวนหัวใจ (Cardiac catheterization)
การรักษาด้วยยาในโรคหัวใจในหญิงตั้งครรภ์
1.ยารักษาหัวใจล้มเหลว
•Digoxin ใช้รักษาภาวะหัวใจล้มเหลว ใช้ร่วมยาขับปัสสาวะ
•ระวังเรื่องภาวะโปแตสเซียมในเลือดต่่า (hypokalemia)
•Hydralazine ลด afterload ส่วน ACE inhibitor ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์
•Beta-blocker ควบคุมความดันโลหิตและอัตราการเต้นหัวใจเช่น labetalol
ยารักษาอาการหัวใจเต้นผิดปกติ
•quinidine ใช้ในการรักษา atrial และventricular tachycardia
•เฝ้าระวังระดับยาในเลือด และปฏิกิริยากับ warfarin
ยารักษาลิ่มเลือดอุดตัน
•unfractionated heparin (UFH)
•low-molecular weight heparin (LMWH)
•warfarin
การยุติการตั้งครรภ์
•ควรเลือกทำในรายที่มีความเสี่ยงสูง
วิธีการ
•ขูดมดลูก
•การใช้ prostaglandin E1 หรือ E2
•การใช้ saline abortion (ไม่นิยม)
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจในระยะตั้งครรภ์ (Prenatal care)
•ควรแนะนำให้มาฝากครรภ์ตั้งแต่ทราบว่าตั้งครรภ์ Class I, II สามารถตั้งครรภ์จนครบกาหนดได้
•การนัดตรวจครรภ์ ก่อน 28 wks นัด 2 wk ภายหลัง 28 wks นัดทุก 1 wks
•ควรได้รับการดูแลจากอายุแพทย์
•ประเมิน Functional class ทุกครั้ง
•ดูแลภาวะ anemia ถ้า hemoglobin น้อยกว่า 10.5 g/dL
•แนะนำให้นอนพักมากกว่า 10 ชม.
•ควบคุมน้ำหนักไม่เกิน 10 กก.
•แนะนำให้หยุดสูบบุหรี่หรือ สุรา
•ระมัดระวังการติดเชื้อ
•Functional class เลวลงให้นอน รพ.
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ในระยะรอคลอดและระยะคลอด
ระยะคลอด
•เตรียมคลอด 1-2 wks ก่อนคลอด
•นอนในท่าตะแคงยกศีรษะสูงระยะรอคลอด
•การใช้ยาระงับปวด
•หากเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว อาจพบ Pulmonary edema, hypoxia และBP ต่ำต้องรักษาตามความรุนแรงของโรค
•Vital signs
•Fetal monitoring
•หากเกิด Premature labor pain >>>Inhibit
•วิธีการคลอด แนะนำให้คลอดทางช่องคลอด C/S ตามข้อบ่งชี้ทางสูติศาสตร์
•การจัดท่าคลอดในท่า Fowler position ในระยะคลอด
•ถ้าคลอดทางช่องคลอด ช่วยคลอดด้วย V/E or F/E
•ภาวะหัวใจล้มเหลว ต้องรักษาตามชนิดและความรุนแรงของโรค
•Vital signs
ระยะหลังคลอด
•การดูแลอย่างใกล้ชิดป้องกันการตกเลือด, ติดเชื้อ
•การให้นมบุตร
•การคุมกาเนิด
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ
การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันไม่ให้หัวใจทางานหนักเพิ่ม
•แนะนาการปฏิบัติตัว
•พักผ่อน
•ลดการทางานปกติ
•อาหาร (ลดแป้ง ไขมัน เกลือ)
•ปรับพฤติกรรมทางเพศ
•เน้นมาฝากครรภ์
•ป้องกันการติดเชื้อ
•แนะนาการได้รับยา
•แนะนาการนับลูกดิ้น
•นอนศีรษะสูง
•สังเกตอาการเริ่มต้นของหัวใจวาย
•Vital signs
•Antibiotic (benzatine penicillin, ampicillin)
•ยาเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของหัวใจ (Digoxine)
•การจัดเตรียมออกซิเจนและอุปกรณ์ช่วยเหลือ
•ดูแลการได้รับยา
•Antibiotic (benzatine penicillin, ampicillin)
•ยาเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของหัวใจ (Digoxine)
•ยากล่อมประสาท
•ยาระงับอาการเจ็บครรภ์
•ยาขับปัสสาวะ
ในระยะเบ่งคลอด
•นอนท่าศีรษะสูงแยกขาออกในแนวราบ
•ช่วยแพทย์ทาหัตถการ
•ฟังเสียงหัวใจทารก
•เตรียมช่วยเหลือทารก
ระยะคลอดรก
•กดหน้าท้องเหนือสะดือ
•ดูแลการได้รับยา oxytocin งด methergin
•ดูแลการได้รับเลือด
ระยะหลังคลอด
•ประเมินสัญญาณชีพ
•ดูแลให้พักผ่อน
•ดูแลให้ได้รับยา digitalis
•ดูแลให้ได้รับยา Antibiotic
•ดูแลการให้นมบุตร
•แนะน่าการคุมก่าเนิด
นางสาวกัญนุช จันทะคัด เลขที่7