Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพต่อมไร้ท่อ โรคเบาหวาน - Coggle Diagram
พยาธิสรีรภาพต่อมไร้ท่อ
โรคเบาหวาน
ฮอร์โมนจากไอส์แลตออฟแลงเการ์ฮานส์
ตับอ่อน (Pancreas) ตั้งอยู่ที่ด้านบนซ้ายของช่องท้องโดยวางตัวจากส่วนโค้งของลำใส้เล็กส่วนดูโอดินัม (duoenum) ถึงม้าม (spieen) และด้าหลังของกระเพาะ (stomach)มีลักษณะค่อนข้างแบน ตับอ่อนทำหน้าที่ทั้งเป็นต่อมมีท่อคือการสร้างน้ำย่อยไปที่ลำไส้เล็กและเป็นต่อมมีท่อคือการสร้างฮอร์โมนเซลลืที่ทำหน้าที่ในการผลิตออร์โมนจะรวมกันเป้นกลุ่มมีชื่อว่า ไอเลตส์ออฟแลงเกอร์ฮานส์
ฮอร์โมนที่สร้างจากไอส์แลตออฟแลงเกอร์ฮานส์
ฮอร์โมอินซูลิน (Insulin)
หน้าที่ลดระดับน้ำตาลในเลือด (ระดับน้ำตาลในเลือดปกติ 80-100 ลบ.ซม ) โดยเพิ่มการนำกลูโคสเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อและเซลล์ตับกระตุ้นให้เซลล์ตับและเซลล์กล้ามเนื้อเปลี่ยนกลูโคสให้เป็นไกลโคเจน(โมเลกุลของคาร์โบไฮเดรตที่สร้างจากกลูโคส) เก็บสะสมไว้ภายในเซลล์
สร้างจากเบต้าเซลล์ (beta cell) ซึ่งเป็นเซลล์ที่อยู่รอบนอกของกลุ่มเซลล์ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์
อวัยวะเป้าหมาย ตับ,กล้ามเนื้อ
2.ฮอร์โมนกลูคากอน (Glucagon)
หน้าที่ เพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด กระตุ้นให้เซลล์กล้ามเนื้อเปลี่ยนไกลโคเจนให้เป็นกลูโคสปล่อยเข้าสู่กระเเสเลือดเพิ่มการสังเคราะห์กลูโคสปล่อยเข้ากรดอะมิโนและกรดไขมัน
สร้างจาก แอลฟาเซลล์ (alpha cell)
ซึ่งเป็นเซลล์ที่อยู่ส่วนในและเป็นเซลล์ส่วนใหญ่ของกลุ่มเซลล์ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์
การรักษาสมดุลของระดับน้ำตาลในเลือด
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาทจาากเบาหวาน (Peripheral neuropathy) อาจเกิดได้ทั้งในระบบประสาทกลางและระบบประสาทส่วนกลาง (ส่วนใหญ่เป็นผลจากโรคหลอดเลือดแข็งตัว) ระบบประสาทส่วนปลายและระบบประสาทออโตโนมิคภาวะแทรกซ้อนชนิดนี้พบได้ประมาณร้อยละ 40 ของผู้เป็นเบาหวานนานขึ้นในผู้เป็นเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดี
ภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดฝอย (Microvascular complication) ภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้จะมีอุบัติการณ์สูงขึ้นเมื่อเป็นเบาหวานนานขึ้นเป็นการเปลี่ยนแปลงของเส้นเลือดขนาดเล็ก
ภาวะแทรกซ้อนทางตา (Diabetic Retinopathy : DR) อาการทางคลินิกมักสังเกตไม่ได้ในระยะแรกแต่จะสังเกตได้เมื่อมีการมากขึ้น ตามัวลงอย่างรวดเร็วจนกระทั่งจาบอดได้
ภาวะแทรกซ้อนทางไต (Diabetic Nephropathy : DN) เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดไตวายเรื้อรัง (Chronic Renal Failure:CRF) หรือภาวะไตวายระยะสุดท้าย (End Stage Renal Diseases : ESRD) ผู้ที่มีภาวะนี้ในระยะแรกๆ จะไม่มีอาการจนกว่าจะเริ่มมีระดับ Creatinine ในเลือดสูงขึ้น จึงแสดงอาการ
ภาวะบวมน้ำ ความดันโลหิตสูงเบื่ออาหารเป็นต้นส่วนการวินัจฉัยว่าเริ่มมีภาวะแทรกซ้อนทางไตในทางคลินิกคือการตรวจพบ Microalbuminuria ในปัสสาวะ
ภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดใหญ่ (Macrovascular complication) เกิดจากโรคหลอดเลือดแดงแข็ง มีปัจจัยร่วมนอกเหมือนจากระดับน้ำตาลสูง
ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของภาวะทุพพลภาพและการเสียชีวิต ผู้ที่เป็นเบาหวานมีโอกาสเกิดโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจได้มากกว่า
กลไกการเกิดโรคแทรกข้อนในผู้ป่วยเบาหวาน
1.Neoenzymatic slycation ของโปรตีน เมื่อระดับน้ำตาลในเลือดสูง กลูโคสจะจับกับโปรตีนโดยไม่ต้องอาศัยเอนไซม์ เช่น จับกับ hemoglobin เป็น HbA1c, จับกับ albumin เป็น fructosamineเมื่อเกิดปฏิกิริยาตังกล่าวกับโปรตีนทำให้เกิด advanced glycation end products ทำให้หน้าที่ของโปรตีนเสียไป เป็นกลไกสำคัญในการเกิดโรคแทรกซ้อนชนิด microvascular เช่น nephropathyและ retinopathy
2.Polyal pathway เมื่อระดับน้ำตาลในเลือดสูง กลูโคสเข้าไปในเซลล์ เช่น Schwann's cell หรือเลนส์ โดยไม่ต้องอาศัยอินชูสิน กลูโคสจะถูกเปลี่ยนเป็น sorbitol โดยเอนไซม์ aldose reductase และเป็นฟรุกโตสโดยเฮนไซม์ sorbitol dehydrogenase ซึ่ง sorbitol และ fructose ขนาดโมเสกุลใหญ่ ไม่สามารถผ่านกลับออกมาจากเชลล์ใด้ ทำให้ Swann's cells บวม หรือเลนส์ขุ่นรวมถึง peripheral nephropathy และcataract ได้
3.การกระตุ้น protein kinase C (PKC) และ diacylglycerol (DAG) pathway โดยระดับน้ำตาลเลือดสูงขึ้นอาจทำให้เกิดความผิดปกติในการทำงานของหลอดเลือด การแข็งตัวของเลือด การสร้าง basement membrane และ growth factor ต่างๆ
4.การเกิด artherosclerosis กลไกการเกิดเริ่มจาก small dense LDL (low density lipoprotein) เข้าไปในผนังหลอดเลือดโดยง่าย ถ้ามี endothelia ผิดปกติ เช่น การสูบบุหรี่ ความดันโลหิตสูง LDL ผ่านขบวนการcxidized เป็น oxidized LDLเซลล์แมคโครฟาจจะกิน xidized LDL ทำให้แมคโครฟาจเปลี่ยนเป็น foam cells ก่อให้เกิมีเม็ดเลือดขาว และ smooth muscle cells แบ่งตัวเข้ามาในชั้น subendothelial เกิดเป็น plaque และอุดตันหลอดเลือดของอวัยวะต่างๆ ที่สำคัญได้แก่ หัวใจ สมอง และปลายเท้า เป็นต้น
พยาธิสภาพของการเกิดโรคเบาหวาน
ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 มักพบว่ามีความผิดปกติที่ตัวรับ (receptor) ของเซลล์ ทำให้ร่างกายไม่สามารถดึงน้ำตาลกลูโคสไปใช้ใด้ ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง คือภาวะดื้ออินซูสิน ขณะเตียวกันร่างกายจะปรับให้อยู่ในภาวะที่มีอินซูสินสูงมาก (Hyperinsulinemia) ส่งผลให้เบต้าเชลล์ของตับอ่อนไม่สามารถผลิตอินซูสินในระตับปกติใด้ในระยะต่อมาจึงมีอินซูสินน้อยลง เป็นผลให้กลูคากอนเพิ่มขึ้นมีผลไปเร่งการสลายไกลโคเจนที่ตับ ทำให้ระดับน้ำตาลในเสือดสูงมากขึ้น จนกระทั้งเกิดขีดกักกั้นของไต (Renal threshold) น้ำตาลจะถูกขับออกมาทางปัสสาวะในขณะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงมาก แต่เซลล์ร่างกายอยู่ในภาวะขาดน้ำตาลกลูโคส ความเข้มขันในเลือดสูงขึ้น ทำให้น้ำจากเชลล์ถูกตึงเขามาในกระแสเลือต ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการัสสาวะมากและกระหายน้ำ ร่างกายอ่อนเพลีย
โรคเบาหวานชนิดที่ 1 (type 1 diabetes mellitus, T1DM) โรคเบาหวานชนิดที่เกิดจากการทำลายเบต้าเชลล์ของตับอ่อนทำให้ตับอ่อนไม่สามารถผลิตอินชูสินได้เลย ส่วนใหญ่เกิดจากautoimmune ความผิดปกติทางพันธุกรรม การติดเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย การได้รับสารพิษบางชนิดหรือการเกิดภาวะเครียด โรคเบาหวานชนิดที่ 1 นี้สมารถพบได้ในทุกวัย แต่ส่วนใหญ่พบมักพบในเด็ก
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (type 2 diabetes mellitus, T1DM) โรคเบาหวานที่เกิดจากภาวะดื้ออินซูลินร่วมกับความผิดปกติในการหสั่งอินซูสินของตับอ่อน ซึ่งเป็นโรคเบาหวานที่พบได้บ่อย มักเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม และปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม เช่น ความอ้วน การขาดการออกกำลังกาย การดื้อต่ออินซูสินทำให้เซลล์ไม่สามารถนำกลูโคสในเลือดไปใช้ได้
โรคเบาหวานชนิดที่ 3 (gestational diabetes mellitus, GDM) เป็นโรคเบาหวานที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์ มักเกิดเมื่อไตรมาส 2-3 ของการตั้งครรภ์โดยมีการเพิ่มของฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ต้านอินซูลิน ได้แก่ human placenta lactogen (HPL),progesterone, cortisol และ prolactin เกิดภาวะ insulin resistance มากขึ้น
โรคเบาหวานชนิดที่4 โรคเบาหวานที่มีสาเหตุอื่นๆ(specific types of diabetes due to other causes) ที่ทำให้มีการทำลายเบต้าเชลล์ของตับอ่อน เช่น ตับอ่อนอักเสบ ตับอ่อนได้รับบาดเจ็บการผ่าตัดตับอ่อน มะเร็ง การได้รับยาหรือสารเมีที่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นจนก่อให้เกิดภาวะตื้อต่ออินซูสิน
การตรวจร่างกาย
ตรวจตา พบมีต้อกระจก ต้อหิน เส้นเลือดในจอรับภาพแตก มองเห็นภาพซ้อน
ตรวจหัวใจและหลอดเลือด อาจพบความดันโลหิตสูง เจ็บหน้าอก เส้นเลือดสมองอุดตันเวลาเดินปวดน่องมากพอหยุดเดินแล้วอาการจะหายไปหรือเป็นอัมพาด
ตรวจช่องท้อง มีไขมันพอกบริเวณหน้าท้อง หน้าอก คอและหน้า อาจคลำพบตับโตขอบเรียบ กดไม่เจ็บ เมื่อได้รักษาที่ดีตับจะเล็กลงมีอาการทางลำไส้ ท้องผูกหรือท้องเดินในเวลากลางคืน
ตรวจกล้ามเนื้อและระบบประสาท ปวด ชาปลายมือปลายเท้า มึน งง เวียนศีรษะ กล้ามเนื้อลีบและอาจตรวจพบเชื้อราตามข้อพับ
ตรวจระบบขับถ่ายและอวัยวะสืบพันธ์ุ กระเพาะปัสสาวะอักเสบ กรวยไตอักเสบ กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ความรู้สึกทางเพศลดลงหรือไม่มีถ้าตั้งครรภ์กำหนดบุตรมีน้ำหนักมากกว่าปกติ