Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา - Coggle Diagram
หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา
ความสัมพันธ์ ระหว่างการนิเทศกับการบริหาร
เปรียบเทียบความสัมพันธ)ระหว่างบริหารและการนิเทศการศึกษา
ฝ่ายบริหารมีอำนาจสั่งการ (Authoriy)
ฝ่ายบริหารคุมงานทั้งหมด (The wholes)
ฝ่ายบริหารมีหน/าที่จัดเตรียม (Setting up)
งานของผู้บริหารการศึกษา
งานบริหาร
ด้านอาคารสถานที่
ด้านบุคลากร
ด้านวิชาการ
ด้านธุรการ
ด้านกิจการนักเรียน
ด้านการสร้างความสัมพันธsกับชุมชน
งานนิเทศ
งานนิเทศการเรียนการสอน
งานนิเทศทั่วไป
บทบาทของผู้บริหารกับการนิเทศ
อำนวยพร วงษ)ถนอม
จัดให้มีการติดตามผล
ภายหลังการฝึกอบรม
จัดหาหนังสือทางวิชาการ
คู่มือครูวารสาร และบริการอื่นๆเพื่อช่วยเหลือครูก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ
ให้ครูได้เข้าร่วมการฝึกอบรม
ทางวิชาการที่จัดขึ้นภายในและภายนอกกลุ่มสถานศึกษา
ผู้บริหารควรเยี่ยม
ชั้นเรียน เพื่อมุ่งที่จะให้ คำปรึกษาช่วยเหลือและแก้ไข ปัญหาทางการสอน
ส่งครูไปสังเกตการสอน
ในสถานศึกษาอื่น ๆ ที่เห็นว่าเป็นตัวอย่างที่ดีได้
การบำรุงขวัญและให้
กำลังใจแก่ครู
เสนอแนะวิธีสอนที่
เหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและสภาพแวดล้อมให้ครู
ผู้บริหารควรมีเกณฑ์ใน
การพิจารณาความดีความชอบของครู
ช่วยให้ครูมีความ
เชื่อมั่นในความสามารถของตนที่จะแกนปัญหา และ
อุปสรรคในการเรียนการสอน
จัดให้มีการสัมมนา
ของคณะครู เพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน
แนะนำให้ครูรู้จัก
ดัดแปลงเนื้อหาวิชาที่สอนให้เหมาะสมแกนสภาพท้องถิ่น
สนับสนุนให้ครูมี
โอกาสศึกษาในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และจะเป็นประโยชน์โดยตรงต่อการศึกษา
สถานศึกษาจัดการ
อบรม หรือใหTการนิเทศด้วยการสอนแกนครูอย่าง
สม่ำเสมอ
จัดให้มีการประกวด
การเรียนการสอนระหว่างสถานศึกษาภายในกลุ่ม
จัดให้การปฐมนิเทศครู
ใหม่ให้เข้าใจในหน้าที่การงานที่ตนรับผิดชอบ
พนัส หันนาคินทร
ทำหน้าที่ประเมิน
ผลการเรียนการสอน
ทำหน้าที่ช่วยส่งเสริมและปรับปรุงการเรียนการสอน
ทำหน้าที่ตรวจสอบความเป็นไปเกี่ยวกับการเรียนการสอน
สุจริต เพียรชอบ
ช่วยเหลือทางด้านวิชาการ และด้านบริการ
ช่วยเหลือครูในด้านปัญหาส่วนตัว
การสร้างขวัญของคณะครูในสถานศึกษา
การประเมินผลการปฏิบัติงานในสถานศึกษา
อัญชลีธรรมะวิธีกุล
แนะนำให้ครูรู้จักดัดแปลงเนื้อหาวิชาที่
สอนให้เหมาะสมแก่สภาพท้องถิ่น
สถานศึกษาจัดการอบรม หรือให้การ
นิเทศด้วยการสอนแก่ครูอย่างสม่ำเสมอ
ช่วยให้ครูมีความเชื่อมั่นใน
ความสามารถของตนที่จะแก้ปัญหาและอุปสรรคในการเรียนการสอน
จัดให้การปฐมนิเทศครูใหม่ให้เข้าใจหน้าที่การงานที่ตนรับผิดชอบ
เสนอแนะวิธีสอนที่เหมาะสมกับ
เนื้อหาวิชา และสภาพแวดล้อมให้ครู
ไวส์ (Wiles)
บทบาทในด้านการจัดและดำเนินงานในหน่วยงาน
บทบาทในการคัดเลือกและการใช้ประโยชน์บุคลากร ผู้บริหารสถานศึกษา
บทบาทในฐานะผู้นำ
บทบาทในการสร้างขวัญกำลังใจของครู
บทบาทด้านมนุษยสัมพันธ์
บทบาทในการพัฒนาบุคลากร
การนิเทศการศึกษา หลักการเทคนิค การนิทศ
แนวคิดการนิเทศการศึกษา
นิเทศแบบมนุษยสัมพันธ์
นิเทศแบบพฤติกรรมศาสตรJ
นิเทศแบบคลาสิค
กระบวนการการนิเทศการศึกษาของแอลเลน
กระบวนการวางแผน (Planning Processes)
กระบวนการจัดสายงาน (Organizing Processes)
กระบวนการนำ (Leading Processes)
กระบวนการควบคุม (Controlling Processes)
กระบวนการประเมิน (Assessing Processes)
ความหมายการนิเทศการศึกษา
การช่วยเหลือให้คำแนะนำที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
Good กล่าวว่าการปฏิบัติหน้าที่ในการช่วยเหลือในการให้คำแนะนำแก่ครู
Harris กล่าวว่า กาทำหน้าที่ของบุคลากรในสถานศึกษา ต่อผู้เรียนและทุกสิ่งในสถานศึกษา เพื่อปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนให้อยู่ในกฎระเบียบ
สุวรรณา โชติสุกานต์ กล่าวว่า การให้คำแนะนำ สนับสนุน การช่วยเหลือ และติดตามการพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา
เทควิธีการนิเทศภายในโรงเรียน
coaching techniques
เทคนิคการนิเทศการสอน
การนิเทศแบบเนDนผลผลิต (Supervision as Production)
การนิเทศแบบคลินิก (Clinical Supervision)
การนิเทศแบบตรวจสอบ (Inspection Supervision)
การนิเทศเพื่อการพัฒนา (Developmental Supervision)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research-PAR)