Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ระบบวิทยาศาสตร์โลก, นาย นันทนนท์ จันทร์นาม รหัสนักศึกษา…
บทที่ 2
ระบบวิทยาศาสตร์โลก
ลักษณะรูปทรงของโลก :smiley:
ทรงรีที่ขั้วทั้งสองยุบตัวลง (Oblate Ellipsoid)
รูปทรงแบบยีออยด์(Geoid)
ระบบสุริยะและโลก :star:
ดาวพุทธ (Mercury) ดาวศุกร์ (Venus) โลก(Earth) ดาวอังคาร (Mars) ดาวพฤหัส (Jupiter) ดาวเสาร์(Saturn) ดาวมฤตยู (Uranus)ดาวพระสมุทร (Neptune)และดาว
พระยม (Pluto)
ทฤษฎีกำเนิดโลกและระบบสุริยะ : :<3:
1.ทฤษฎีเนบูลา (nebular hypothesis)
2.ทฤษฎีโปรโตแพลเนต
(protoplanet hypothesis)
3.ทฤษฎีพลาเนตติซิมัล
(planetesimal hypothesis)
แสงเหนือ-แสงใต้ :explode:
แสงเหนือ-แสงใต้เกิดจากการที่อนุภาค
ไฟฟ้า โดยเฉพาะโปรตอนและอิเลคตรอนซึ่งเดินทางมาจากดวงอาทิตย์ พุ่งเข้าชนบรรยากาศของโลกด้วยความเร็วนับร้อยหรือพันกิโลเมตรต่อวินาที
การเคลื่อนไหวของโลก :recycle:
การเคลื่อนที่ของโลกรอบดวงอาทิตย์ เรียกว่า “การโคจร”
การเคลื่อนไหวของโลกรอบตัวเอง เรียกว่า “การ
หมุน”
กำเนิดโลก :pencil2:
เอกภพ หรือ จักรวาล (Universe) อุบัติขึ้นเมื่อประมาณ
13,000 ล้านปี มาแล้วตามทฤษฏีบิ๊กแบง (Big Bang) ในยุคเริ่มแรกจักรวาลมีขนาดเล็ก เมื่อจักรวาลเย็นตัวลงธาตุแรกที่เกิดขึ้น คือ ไฮโดรเจน เมื่อไฮโดรเจนเกาะกลุ่มกันจนเป็นกลุ่ม
แก๊สขนาดใหญ่เรียกว่า เนบิวลา (Nebula)
องค์ประกอบของโลก :red_flag:
Hydrosphere (อุทกภาค)
Atmosphere (บรรยากาศภาค)
Lithosphere (ธรณีภาค)
Biosphere (ชีวมณฑล)
โครงสร้างของโลก :confetti_ball:
แก่นโลกหรือแก่นพิภพ (Barysphere หรือ
Centrosphere)
เปลือกโลก (Crust) หรือธรณีภาค (Lithosphere)
นาย นันทนนท์ จันทร์นาม
รหัสนักศึกษา 62122110102
Section.05 เลขที่ 21