Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:recycle:[นักทฤษฎีทางการศึกษาและการนิเทศทางการศึกษา] : :recycle: - Coggle…
:recycle:[นักทฤษฎีทางการศึกษาและการนิเทศทางการศึกษา] : :recycle:
Tom Peters & Robert Waterman :check:
การจัดองค์กรให้มีประสิทธิภาพ
เพิ่มผลผลิตโดยอาศัยพนักงาน (Productive through people)
สัมผัสกับงานอย่างใกล้ชิดและความเชื่อมั่นในคุณค่าผลักดัน (Hands-on , Value-driven)
มีอิสระในการทำงานและความรู้สึกของเจ้าของกิจการ (Autonomy and Entrepreneurship))
ทำแต่ธุรกิจที่มีความเชี่ยวชาญและเกี่ยวเนื่อง (Stick to the Knitting)
มีความใกล้ชิดกับลูกค้า ( Close to the Customer)
รูปแบบเรียบง่าย พนักงานอำนวยการหรือส่วนกลางมีจำกัด (Simple Form,Lean Staff)
มุ่งเน้นการปฎิบัติ ( a Bias for Action)
ประโยชน์ที่ได้รับจากการนำทฤษฎีมาประยุกต์ใช้
หุ้นส่วนหรือนักลงทุนได้รับผลประโยชน์จากราคาหุ้นที่ไม่กระทบ
พนักงานมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน
องค์กรธุรกิจที่ได้รับชื่อเสียงและการยอมรับ
ลูกค้้ามีทัศนคติที่ดีต่อองค์กรและส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อ
ประวัติส่วนตัว
เกิดเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ.1942 ชาวอเมริกัน
จบการศึกษาวิศวกรรมโยธา
รับราชการทหารในกองทัพเรือและร่วมรบในสงครามเวียดนาม
เขียนหนังสือ In Search of Excellence
ใช้คำว่า adhocracy กับองค์กรที่เป็นจุดเน้น
Peter M. Senge's :check:
ประวัติส่วนตัว
เกิดในปี 1947
จบวิศวกรรมศาสตร์
จบปริญญาโททางด้านระบบสังคมศาสตร์ที่มหาวิทยาลัย MIT
ปริญญาเอกด้านการจัดการ
ความสนใจพิเศษคือเรื่องการกระจายบทบาทความเป็นผู้นำให้คนในองค์กรเพื่อเพิ่มศักยภาพของคนในองค์กรให้มีประสิทธิภาพ
เสนอแนวคิดการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่เรียกว่า The five discipline (วินับ 5 ประการ) มุ่งเน้นที่คน การพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ต้องเริ่มจากการพัฒนาคนก่อน
องค์กรแห่งการเรียนรู้ คือองค์กรที่เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา เรียนรู้ทั่วทั้งองค์กร เรียนรู้ในกิจกรรมทุกอย่างเป็นองค์กรที่มีการเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา มีความเป็นพลวัตอยู่ตลอดเวลา
องค์ประกอบที่สำคัญซึ่งนับว่าเป็นหัวใจของการเป็น "องค์กรแห่งการเรียนรู้คือ วินัย 5 ประการ"
ความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษของบุคคล
2.แบบแผนทางจิตใจที่มองโลกตามความเป็นจริง
3.การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
4.การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
5.การคิดเชิงระบบ
Robert Kaplan & David Norton :check:
ประวัติส่วนตัว
ปี ค.ศ. 1992 ได้ตีพิมพ์บทความ Balanced Scorecard (BSC)
ปี 1996 ออกหนังสือในชื่อ Balanced Scorecard (BSC)
ได้รับรางวัล Wild Medal เมื่อปี 2001 จาก American
Balanced Scorecard
ระบบหรือกระบวนในการบริหารงานชนิดที่อาศัยการกำหนดตัวชี้วัด
เป็นเครื่องมือทางด้านการจัดการที่ช่วยในการนำกลยุทธ์ไปสู่การปฎิบัติโดยอาศัยการวัดประเมิน
ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ
วัตถุประสงค์ (Objective)
ตัวชี้วัด (Measures หรือ Key Performance)
เป้าหมาย (Target)
ความคิดริเริ่มหรือสิ่งที่จะทำ (Initiatives)
กระบวนการในการพัฒนาและจัดทำ Balanced Scorecard
การวิเคราะห์ทางกลยุทธ์
กำหนดวิสัยทัศน์และกลยุทธ์
3.วิเคราะห์กำหนด Balanced Scorecard
จัดทำแผนที่ทางกลยุทธ์
ผู้บริหารระดับสูงประชุมร่วมกัน
กำหนดรายละเอียดของวัตถุประสงค์
แผนเสร็จกำหนดตัวชี้วัดให้ผู้บริหารระดับรองๆลงไป
ประโยชน์ที่ได้รับจากการนำ Balanced Scorecard
1.ช่วยให้ผลการดำเนินการขององค์กรดีขึ้น
2.ทำให้องค์กรมุ่งเน้นและให้ความสำคัญต่อกลยุทธ์ขององค์กร
ช่วยในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมขององค์กร
ทำให้พนักงานรับรู้และเข้าใจว่างานมีที่มาที่ไป
การนิเทศการศึกษา
ความหมายของการนิเทศ
การช่วยเหลือให้คำแนะนำที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
Good : การปฎิบัติหน้าที่ในการช่วยเหลือในการแนะนำแก่ครู
้
้Harris : การทำหน้าที่ของบุคลากรในสถานศึกษา ต่อผู้เรียนและสิ่งในสถานศึกษาเพื่อปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้อยู่ในกฎระเบียบ
สุวรรณา โชติสุกานต์ คำแนะนำ การสนับสนุนการช่วยเหลือและติดตามการพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา
กระบวนการทำงานร่วมกันทางการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียน เพื่อให้คำแนะนำ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
แนวคิดของสงัด อุทรานันท์ กระบวนการนิเทศที่เห็นว่าสอดคล้องกับสังคมและวัฒนธรรมการทำงานของคนไทย
ให้ความรู้ก่อนการนิเทศ
การดำเนินการนิเทศ
การวางแผนนิเทศ
การสร้างกำลังใจแก่ปฎิบัติงานนิเทศ
การประเมินการนิเทศ
นีเกรย์และอีแวนส์ (์Neagley and Evans)
ดำเนินการวัดผลและประเมินผลโครงการทั้งระบบ
ช่วยให้มีการจัดตั้งคณะผู้เชี่ยวชาญในด้านการสอน
ดูแลโครงการนิเทศในโรงเรียน
รับผิดชอบในการจัดโครงการส่งเสริมความรู้แก่ครูประจำชั้น
พัฒนาหลักสูตร
จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสาร
พัฒนาการสอน
ดูแลสิ่งอำนวยความสะดวก
ทำงานร่วมกับกลุ่มในการสร้างและดำเนินการเป็นไปตามปรัชญา
ช่วยให้มีการพัฒนาการศึกษาใหม่ๆในท้องถิ่น
สร้างบรรยากาศให้ครูแต่ละคนหรือทั้งกลุ่มสามารถแสดงความสามรถอย่างอิสระ
กลิคแมน (Glickman)
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาทีมงาน
การพัฒนากลุ่ม
การวิจัยเชิงปฎิบัติการ
การช่วยเหลือครูโดยตรง
แนวคิดการนิเทศการศึกษา
นิเทศแบบคลาสิค
นิเทศแบบมนุษยสัมพันธ์
นิเทศแบบพฤติกรรมศาสตร์
POLCA
1.กระบวนการวางแผน (P)
2.กระบวนการสายงาน (O)
3.กระบวนการนำ (L)
4.กระบวนการควบคุม (C)
5.กระบวนการประเมิน (A)
เทคนิควิธีการนิเทศภายในโรงเรียน
การวิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วม เป็นรูปแบบของการวิจัยแบบใหม่ที่ประยุกต์และเป็นการรวมเอาแนวคิดของการวิจัย
Coaching techniques เพราะการชี้เป็นการบอกทิศทางให้เป็นการเสนอแนวทางให้เดินสู่ทิศนั้น
เทคนิคการนิเทศการสอน
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการนิเทศการศึกษา
การนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการที่จะสนับสนุนให้การดำเนินงานบรรลุผลสำเร็จได้ดียิ่งขึ้นด้วยเหตุนี้การบริหารการศึกษาจึงมีความสัมพันธ์กับการนิเทศการศึกษาอย่างใกล้ชิดเพราะลักษณะงานทั้งสองฝ่ายคล้ายกันและเป็นงานที่คู่กัน ผู้บริหารที่ดีควรมีหลักการนิเทศการศึกษาควรจะรู้หลัการบริหารการทำงานของทั้งสองฝ่ายจึงต้องประสานกันได้
งานของผู้บริหารการศึกษา
การนิเทศทั่วไป การพัฒนาบุคลากรให้มีความสามารถในการปฎิบัติงานต่างๆที่ไม่ใช่การเรียนการสอน
งานนิเทศการสอน เป็นการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามรถเกี่ยวกับหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน
ด้านวิชาการ, ด้านบุคลากร, ด้านอาคารสถานที่ , ด้านธุรการ , ด้านกิจการนักเรียน , ด้านสร้างความสัมพันธ์ชุมชน
บทบาทของผู้บริหารกับการนิเทศ
ไวส์ (Wiles) กล่าวถึงบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาไว้ดังนี้
บทบาทในด้านการจัดและดำเนินงานในหน่วยงาน
บทบาทในการคัดเลือกและประโยชน์บุคลากร
บทบาทในฐานะผู้นำ
บทบาทในการสร้างขวัญของครู
บทบาทด้านมนุษยสัมพันธ์
บทบาทในการพัฒนาบุคลากร
อำนวยพร วงษ์ถนอม
ให้ครูได้เข้าร่วมการฝึกอบรม
ให้มีการติดตามผลภายหลังการฝึกอบรม
ส่งครูไปสังเกตุการณ์
จัดหาหนังสือทางวิชาการ
เสนอแนะวิธีการสอน
ผู้บริหารควรเยี่ยมชั้นเรียน
ช่วยให้ครูมีความเชื่อมั่นในความสามารถ
การบำรุงขวัญและกำลังใจครู
แนะนำให้ครูรู้จักดัดแปลงเนื้อหา
เกณฑ์ในกาารพิจารณาความดีความชอบ
สถานศึกษาจัดการอบรม
จัดให้มีการสัมมนาของคณะครู
จัดให้มีการปฐมนิเทศครู
จัดให้มีการประกาศผลการเรียนการสอน
สนับสนุนให้ครูมีโอกาสศึกษาในสาขาวิชา
สุจริต เพียรชอบ
ช่วยเหลือครูด้านปัญหาส่วนตัว
การสร้างขวัญของคณะครูในสถานศึกษา
ช่วยเหลือทางด้านวิชาการและการบริการ
การประเมินผลการปฎิบัติงานในสถานศึกษา
พนัส หันนาคินทร์
ทำหน้าประเมินผลการเรียนการสอน
ทำหน้าที่ส่งเสริมและปรับปรุงการเรียนการสอน
ทำหน้าที่ตรวจสอบความเป็นไปเกี่ยวกับการเรียนการสอน
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการนิเทศภายในโรงเรียนสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมาเขต 7