Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 วิศวะความปลอดภัยทางไฟฟ้า (Safety Engineering with Electricity) -…
บทที่ 5 วิศวะความปลอดภัยทางไฟฟ้า
(Safety Engineering with Electricity)
1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับไฟฟ้า
นิยาม
ไฟฟ้าสถิต เกิดขึ้นจากกการขัดสีของวัตถุ
ไฟฟ้ากระแส มี2ประเภท คือ ไฟฟ้ากระแสตรง ไฟฟ้ากระแสสลับ
วงจรไฟฟ้า
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า
ตัวนำไฟฟ้า
เครื่ิองใช้ไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้า 1 เฟส
ระบบไฟฟ้า 3 เฟส
2.ลักาณะอันตรายของกระแสไฟฟ้าที่มีต่อชีวิตและร่างกาย
เกิดจากไฟฟ้าดูด
เกิดจากที่ร่างกายต่อเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้า
ความร้อนและแสงสว่างที่เกิดขึ้นจากกระแสไฟฟ้าลัดวงจร
ไฟฟ้าสถิต
3.ผลของกระแสไฟฟ้าที่มีต่อร่างกาย
1.กล้ามเนื้อกระตุกหรือกิดการหกตัว
2.ระบบประสาทเกิดอาการชะงักงัน
3.หัวใจหยุดทำงานทันที
4.หัวใจเกิดอาการเต้นกระตุกหรือเต็นถี่รัว
5.เนื้อเยื่อและเซลล์ต่างๆ ของร่างกายถูกทำลายหรือตาย
6.ดวงตาอักเสบ
4.ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความรุนแรงของการประสบอันตรายจากไฟฟ้า
1.ระยะเวลาที่กระแสไฟฟ้าผ่านร่างกาย
2.ปริมาณของกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านร่างกาย
3.ความต้านทานของร่างกายต่อไฟฟ้า
4.แรงดันไฟฟ้า
5.เส้นทางหรืออวัยวะภายในร่างกายที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
5.สถานการณ์ข่าวจากอันตรายของไฟฟ้า
7.ระบบไฟฟ้าและบริภัณ์ฑ์เกี่ยวกับไฟฟ้า
ถ้าใช้งานเกินขนาดกระแสที่กำหนด สายไฟฟ้าจะร้อนทำให้ฉนวนหลอมละลาย
ขนาดกระแสไฟฟ้าของสาย ต้องไม่ต่ำกว่าอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินที่ใช้ป้องกันสายไฟนั้น
6.สาเหตุการเกิดอัคคีภัยเนื่องจากไฟฟ้า
1.การเกิดประกายไฟฟ้าในบริเวณที่มีเชื้อเพลิงที่ไวไฟ
2.การลุกไหม้ที่สายหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าก่อนแล้วลุกลามไปไหม้เชื้อเพลิงไกล้เคียง
3.การใช้มอเตอร์ไฟฟ้าหรือกำลัง Over load
4.อุปกรณ์ไฟฟ้าเกิดความร้อน
5.การมีกระแสไฟฟ้ารั่ว
6.ความร้อนที่จุดต่อสายเนื่องจากการต่อายไม่สนิท
8.การตรวจวัดทางไฟฟ้า
การตรวจวัดอุณหภูมิหรือความร้อน มี 2 วิธี
1.วิธี Delta-T
2.วิธี Standard Base Temperature
9.หลักและวิธีป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าช็อตตามมาตรฐานสากล
1.การป้องกันอันตรายจากการสัมผัสโดยตรง
2.การป้องกันอันตรายจากการสัมผัสโดยอ้อม
3..การป้องกันอันตรายจากการสัมผัสโดยตรงและโดยอ้อม
10.การตรวจสอบระบบไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม
1.สายไฟฟ้า
2.เซอร์กิตเบรกเกอร์
3.ข้อต่อหรือจุดต่อสาย
4.การระบายอากาศในห้องไฟฟ้า