Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วัณโรคปอด - Coggle Diagram
วัณโรคปอด
อาการและอาการแสดง
- อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
- ครั่นเนื้อครั่นตัว หรือ มีไข้ตอนบ่าย
มีไข้นานเป็นเดือนโดยไม่ทราบสาเหตุ
-
- ระยะแรกไอแห้งๆ ต่อมามีเสมหะ ลักษณะมูกปนหนอง ไอมากเวลานอนหรือ ตอนนอนเช้า หรือหลังอาหาร ไอเรื้อรัง
(มากกวา่ 2 สัปดาห์) ไอมีเลือดหรือ เสมหะปน
- รู้สึกแน่นหน้าอกหรือ เจ็บหน้าอกโดยไม่มีอาการไอ
- เป็นมากจะมีอาการหอบ หรือ ไอเป็นก้อนเลือดแดง ๆ หรือ ดํา ๆ
การไอเป็นเลือด(hemoptysis)
- บางรายไม่มีอาการอะไร และตรวจพบโดยบังเอิญ จากการเห็นจุดในปอด
-
แนวทางการรักษา
ก่อนการรักษาวัณโรคตรวจหาการติดเชื้อ HIV ทุกราย พรอ้ มตรวจการทํางานของตับและไต ตามแนวรักษาของ WHO(2561)
ผู้ไม่เคยรับยาหรือ รักษาไม่เกิน 1 เดือนใช้สูตร 2HREZ/4HR คือ 2 เดือนแรกใช้ยา คือ Isoniazid (H)+Rifampicin (R)+Ethambutol
(E)+Pyrazinamide (Z)
หลังจากนั้นใช้ Isoniazid (H)+Rifampicin (R) ต่ออีก 4 เดือน
และเสริม วิตามินบี 6 วันละ 50-100 mg ให้หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับ ยาIsoniazidเนื่องจากยามีผลยับยั้งการสร้างวิตามินบี 6
ขณะรักษาต้องตรวจเชื้อเป็นระยะ รายที่ตอบสนองการรักษาไม่ดี
เดือนที่ 2 หรอื 3 ยังให้ผลบวก และไม่พบเชื้อดื้อยาให้รักษาIsoniazid (H)+Rifampicin (R) จาก4
เดือน เพิ่มเป็น 7 เดือน
ยาที่ใช้รักษาวัณโรค
- Z=Pyrazinamide ไม่ใชข้ ณะตั้งครรภ์ มีผลทําให้ตับอักเสบ
ปวดตามข้อ มีกรดยูรคิ ในกระแสเลือดสูง
- E=Ethambutol ประสาทตาอกั เสบ (Optic neuritis)
- R=Rifampin ตับอกั เสบ เกล็ดเลือดต่ำ
- H=Isoniazid (INH) ผลข้างเคียง เป็นตับอักเสบ
ชาตามปลายนิ้ว มือนิ้วเท้า (Peripheral neuropathy )
-
การประเมินและการวนิจฉัย
-
-
-
3.2 PPD tuberculin test (Purified protein derivative ) ถ้ารอยนูน
ขนาด 0 – 4 มม ถือว่าเป็นผลลบ ถ้ารอยนนู ขนาด 5 - 9 มม
ไม่สามารถแปลผลได้ว่าบวกหรือ ลบต้องติดตามอาการและผลอย่างอื่น
ถ้าพบรอยนนู ขนาดมากกว่า 10 มม ถือวา่ เป็นผลบวก
-
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
1.1 รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูงเน้น ปลา นม ไข่
เพิ่มอาหารที่มีวิตามินและธาตุเหล็กสูง ผลไม้
เพื่อซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย และดื่มน้ำให้มากเพื่อให้รู้สึกสดชื่น
-
-
-
1.5 แนะนํานอนพักผ่อนให้เพียงพอ กลางคืน 8-10 ชั่วโมง กลางวัน 1
ชั่วโมง เพื่อลดการใชพลังงานและเสริมสร้างสุขภาพให้แข็งแรง
-
-
-
-
ระยะคลอด
- ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด เพื่อให้การคลอดปลอดภัย
- ประเมินอาการผิดปกติ เช่น หายใจลําบาก ขาดออกซิเจน
- ดูแลให้ได้รับสารน้ำและยาตามแผนการรักษาของแพทย์
- ดูแลให้ยาระงับปวดและยาระงับประสาท
ดูแลปฏิกิริยาสะท้อนกลับในการไอ(cough reflex) ของผู้คลอด
เพราะปฏิกิริยานี้จะลดลงทําให้ไม่สามารถไอเพื่อขับเสมหะออกได้
- ฟังเสียงหัวใจทารกเป็นระยะเพื่อประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารก
ในครรภ์ ปกติ 120-160 ครั้งต่อนาทีสม่ำเสมอ
- ควรคลอดโดยใช้ forceps extraction
ช่วยคลอดเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้แรงเบ่งมาก ไม่ผ่าตัดคลอดถ้าไม่มีข้อบ่งชี้
ระยะหลังคลอด
- แยกทารกจากมารดาจนกระทัังเพาะเชื้อเสมหะมารดาได้ผลลบ
- สามารถเลี่ยงบุตรด้วยนมแม่ได้ ถ้าผลเพาะเชื้อเป็นลบ
เพราะปริมาณยารักษาวัณโรคผ่านออกทางน้ำนมน้อยมากและยานี้ไม่เป็นอันตรายต่อทารก แนะนําใหส้ วม mask
ขณะให้นมเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อสู่ทารก
- แนะนํารับประทานยาตามแผนการรักษาเพื่อควบคุมภาวะโรค
ติดตามการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อดูการทํางานของตับเพราะ
3เดือนแรกหลังคลอดเสี่ยงต่อการเกิดตับอักเสบจากยา Isoniazid
-
พยาธิสรีรภาพ
เชื้อวัณโรคเข้าสู่ร่างกาย ละอองฝอยขนาดเล็กผ่านทางเดินหายใจเข้าถุงลมปอดทําใหเ้ กิดติดเชื้อ (TB infection) แบ่งตัวเกิดรอยโรคที่เนื้อปอด เรียกว่า primary focus หรือ Ghon’s focus พบส่วนของปอด
-