Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับความปวด, นางสาวนิภาพร จรบุรมย์ รหัส…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับความปวด
แนวคิดเกี่ยวกับความปวด
การจัดการความปวดที่ไม่มีประสิทธิภาพ
1.ขาดความรู้ความชํานาญในการประเมิน และจัดการกับความปวด
ขาดการเข้าถึงข้อมูลในการจัดการความปวด ทําให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลไม่ต่อเนื่อง
ขาดข้อมูลที่เพียงพอในการจัดการเลือกใช้ยา ขาดความเข้าใจเกี่ยวกับขนาด และผลข้างเคียงของยาที่ใช้เพื่อบรรเทาปวด
ขาดความเข้าใจในการใช้ยา กลัวผู้ป่วยจะติดยา ดื้อยา และกลัวผลข้างเคียงของยา
ปัจจัยที่มีผลต่อความปวด
ด้านร่างกาย การได้รับอันตรายของเนื้อเยื่อ
ปัจจัยทางด้านจิตใจ สภาวะทางอารมณ์ ความวิตกกังวล ความกลัว ความโกรธ ความเศร้า
ด้านบุคคลสังคม และวัฒนธรรม อายุ
ด้านสิ่งแวดล้อม
สาเหตุของความปวด
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ
การอักเสบหรือติดเชื้อทําให้เกิดความปวดในระยะที่มีการอักเสบ
การขาดเลือดหรือออกซิเจนทําให้เนื้อเยื่อบริเวณนั้นบาดเจ็บ
ระบบประสาทถูกทําลาย
5.โรคมะเร็งจะมีอาการปวดรุนแรงเนื่องจากมีการกดทับหรือทําลายเซลล์
การหดเกร็งกล้ามเนื้อเช่น จากตะคริว จากนิ่วที่ไต หรือท่อทางเดินน้ําดี ปวดท้องคลอด
7.การขยายตัวของอวัยวะทําให้เส้นประสาทถูกยืดออก จะมีอาการปวดแบบบีบรัดรุนแรง ร่วมกับการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
ทฤษฎีความปวด (Pain theory)
Specific theoryใช้ได้ดีกับความปวดที่เกิดจากการบาดเจ็บแต่ไม่สามารถอธิบายได้เมื่อใช้กับความปวดทางด้านจิตใจ อารมณ์
Pattern theoryเชื่อว่าตัวรับความรู้สึกปวดทําหน้าที่รับความรู้สึกปวดร่วมกับการรับความรู้สึก อื่นๆเช่นการรับสัมผัส
Gate control theoryใช้อธิบายความปวดแบบเรื้อรังได้ดี
ทฤษฎีควบคุมความเจ็บปวดภายใน(endogenous pain control theory)
เอนเคฟาลิน แบ่งออกเป็น 2ชนิด คือ เมท-เอนเคฟาลิน (met-enkephalin) และลู-เอนเคฟาลิน (leu-enkephalin) ควบคุมความปวดได้ต่ํากว่าสารคล้ายมอร์ฟีนชนิดอื่น มีฤทธิ์แรงกว่ามอร์ฟีน
เอนโดร์ฟิน มีบทบาทเป็นสารควบคุมประสาท (neuromodulator) และฮอร์โมนควบคุมความปวดได้มากกว่ามอร์ฟีน 10เท่า มีอายุครึ่งชีพนานกว่า ระยะเวลาในการออกฤทธิ์ประมาณ 2-3ชั่วโมง
ดายนอร์ฟิน (dynorphin) มีฤทธิ์แรงกว่าเบต้า-เอนโดร์ฟิน 50เท่า และแรงกว่ามอร์ฟีนถึง 200เท่าจึงมีประสิทธิภาพในการควบคุมความเจ็บปวดสูง
กลไกการเกิดความปวด
ความปวดเกิดจากการกระตุ้นปลายประสาทหรือต่อเส้นประสาท สิ่งกระตุ้นแบ่งออกเป็นด้านกายภาพ ได้แก่ ความร้อน ความเย็น แรงกด แรงยืด
เส้นทางการรับความรู้สึกปวดมี2 วิธีดังนี้
1.Spinothalamic tractรับความรู้สึกจากผิวหนังไปยังทาลามัส โดยสัญญาณความปวดมีจุดตั้งต้นจากตัวรับความรู้สึกจากผิวหนัง และอวัยวะภายใน
Medial lemniscal pathwayเป็นทางเดินประสาทที่มีเยื่อหุ้มไมลินขนาดใหญ่
การตอบสนองทางสรีรวิทยาต่อความปวด
1.ด้านร่างกาย
1.1การตอบสนองของระบบประสาทอัตโนมัติ
1.2การหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
การตอบสนองด้านจิตสังคมและพฤติกรรม
ชนิดของความปวด (types and categories of pain)
1.แบ่งตามความรู้สึกได้แก่
เจ็บแปลบ(picking pain) มีลักษณะเหมือนเข็มแทง
ปวดแสบปวดร้อน(burning pain) เกิดจากการที่ผิวหนังถูกไฟไหม้
ปวดตื้อ(aching pain) เกิดเมื่ออวัยวะภายในถูกกระตุ้นจะปวดลึกๆ บอกตําแหน่งไม่ได้
การแบ่งความปวดตามตําแหน่งของตัวรับได้แก่
Somatic pain ความปวดจากตัวรับที่อยู่ภายนอกร่างกาย
Visceral pain ความปวดจากอวัยวะภายใน
จําแนกตามตําแหน่งของความปวด
ความปวดชั้นผิวะรู้สึกปวดเหมือนเข็มแทง หรือปวดแปลบ
ความปวดใต้ผิวชั้นลึกวามปวดมีได้หลายลักษณะ เช่น ปวดแปลบ ปวดตื้อ ปวดแสบปวดร้อน ปวดตุบๆ ปวดร้าว
ความปวดของอวัยวะภายใน อาการปวดแบบตื้อปวดตุบๆ ปวดแสบปวดร้อน ปวดบิด
ความปวดของเส้นประสาท มีความรู้สึกปวดตลอดเวลา ปวดแปลบ ปวดตุบๆ หรือปวดแสบปวดร้อน
จําแนกตามระยะเวลาของความปวด
ปวดแบบเฉียบพลัน (acute pain)
ปวดแบบเรื้อรัง (chronic pain)
3.จําแนกตามความเร็วของการเกิดความปวดได้แก่
ความปวดที่เกิดเร็ว (fast painor first pain)เป็นความปวดที่เกิดขึ้นช่วงสั้นๆ อย่างรวดเร็ว
ความปวดที่เกิดช้า (slow pain or second pain)เป็นความปวดที่ค่อยๆ เกิดขึ้น มักปวดอยู่นานจนทนไม่ได้ เช่น ปวดกล้ามเนื้อ ปวดฟัน
จําแนกตามลักษณะของความปวดได้แก่
ความปวดร้าวเป็นความปวดที่บริเวณพื้นผิวของร่างกาย
ความปวดเกร็ง เป็นอาการปวดรุนแรงแบบปวดเกร็ง
อาการปวดศีรษะ พบได้ในการเจ็บป่วยต่าง ๆ
อาการปวดหลังส่วนล่าง
การประเมินความปวด (Pain assessment)
การประเมินจากข้อมูลของผู้ป่วย
การประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
ประเมินจากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรวิทยา
ประเมินจากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงด้านการดํารงชีวิตประจําวัน
การจัดการความปวด (Pain management)
ยาระงับปวดจากฝิ่น เช่น Morphine และ Pethidine สามารถให้เข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง ดังนี้
1 ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ(intramuscular: IM)
2 ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง(subcutaneous: SC)
3 ฉีดเข้าหลอดเลือดดํา (intravenous: IV)
4 ให้ยาระงับปวดโดยให้ผู้ป่วยควบคุมการให้ยาด้วยตนเอง
ยากลุ่มที่ไม่ใช่อนุพันธุ์ของฝิ่น
1.ยา Acetaminophen
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
ยากลุ่มอนุพันธ์ฝิ่น
1 Weak opioids ได้แก่ Tramadol, Codeine
2 Tramadol
3 Codeineใช้บรรเทาความปวดเล็กน้อย ถึงปานกลาง
4 Strong opioidsได้แก่ Morphine,Pethidine,Fentanyl
5 Morphineใช้บรรเทาความปวดระดับรุนแรง
6 Pethidineใช้บรรเทาความปวดระดับรุนแรงเป็นopioid ที่ถูกสังเคราะห์ขึ้น
7 Fentanylใช้บรรเทาความปวดระดับรุนแรงเป็นopioid ที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นมีความแรงในการระงับปวดประมาณ100 เท่าของมอร์ฟีน
การจัดการความปวดโดยวิธีการที่ไม่ใช่ยา
การจัดการความปวดทางด้านจิตใจ
การจัดการความปวดทางกายภาพ
การจัดการความปวดด้วยการกระตุ้นไฟฟ้า
การจัดการความปวดด้วยการสกัดกั้นประสาท
การจัดการความปวดด้วยการฝังเข็ม
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความปวด
1.ไม่สุขสบาย: ปวดเนื่องจากเนื้อเยื่อบาดเจ็บ/ถูกทําลายจากการผ่าตัด/ขาดเลือดไปเลี้ยง
2.ทํากิจกรรม (activity intolerance) ได้ลดลงเนื่องจากปวด
3.วิตกกังวล (anxiety) เนื่องจากปวด
4.นอนไม่หลับ (insomnia) เนื่องจากปวด
5.อ่อนเพลียเนื่องจากปวด
6.กลัว (fear)เกี่ยวกับการดําเนินของโรคเนื่องจากการปวดรุนแรงขึ้น
7.การเผชิญปัญหา (coping) ไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากปวด
8.การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆของร่างกาย (physical mobility) บกพร่องเนื่องจากปวด
9.ปฏิบัติกิจวัตรประจําวันได้น้อยลง (self care deficit) เนื่องจากปวด
10.การมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น (social interaction) ลดลงเนื่องจากปวด
นางสาวนิภาพร จรบุรมย์ รหัส 116212201017-3