Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นวัตกรรมที่นอนเจลป้องกันแผลกดทับ, นางเบญจวรรณ หารัญดา รหัส 6350600683 นศ…
นวัตกรรมที่นอนเจลป้องกันแผลกดทับ
1.ปัญหา
ผู้ป่วยติดเตียง เกิดแผลกดทับ
การพลิกตะแคงตัว/ข้อติด
ขาดผู้ดูแล
สุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ดี
ทุพโภชนาการ
2.ระบุประเภทของงานพยาบาลชุมชน
การจัดบริการการพยาบาลผู้สูงอายุ/ผู้พิการที่ต้องดูแลเ้นกรณีพิเศษ (ผู้ป่วยติดเตียง)
การจัดบริการในเรื่องของการเยี่ยมบ้าน
การป้องกันการเกิดโรค/ส่งเสริม/ฟื้นฟูไม่ให้เกิดแผลกดทับเพิ่มมากขึ้น
3.ระบบหรือบริบทที่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับปัญหา
ผู้ป่วย
ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
สุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ดี
ข้อยึด/ติด
พยาบาล/เจ้าหน้าที่
บุคลากรมีขาดแคลน
ภาระงานในหน้าที่มำจำนวนมาก
ชุมชน
ชุมชนกึ่งเมือง
เป็นครอบครัวขยาย
วิถีชีวิต
ต่างคนต่างอยู่/ไม่ได้ไปมาหาสู่กัน
กลางวันไปทำงานไม่มีคนดูแลที่บ้าน
ทรัพยากร
อาหาร เกิดภาวะทุพโภชนาการ
ไม่มีคนดูแล
ไม่มีคนพลิกตะแคงตัว
ขาดที่นอนลม/ชำรุด
องค์ตวามรู้
การทำแผล
การพลิกตะแคงตัว
อาหารของผู้รับบริการ
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
การทำความสะอาด
ที่นอน
เชื้อโรค
อุปกรณ์การทำความสะอาด
ผู้ดูแล
การจัดเก็บท่ีนอน
4.Life cycle สิ่งที่สนใจจะแก้ปัญหาหรือพัฒนาอยู่ช่วงไหนของการพยาบาลชุมชน
เป็นการป้องกันและช่วยลดแรงกระจาย/แรงกดบริเวณพื้นผิวสัมผัส ระหว่างผิวหนังของผู้ป่วยกับพื้นที่ผิวที่รองรับน้ำหนัก โดยเฉพะบริเวณที่แผลกดทับ
ประหยัด ทำความสะอาดได้ง่าย ระบายอากาสได้ดี ใช้วัสดุไม่สิ้นเปลือง Recycle
ุ6.เดิมเคยมีเครื่องมืออะไรมาแล้วบ้าง
แผลกดทับ:ให้ CG และญาติเป็นคนดูแลทำแผลให้/อุปกรณ์ทำแผลให้เบิกกับ รพ.สต./วิธีการทำแผล เจ้าหน้าที่ของ รพ.สต.เป็นผู้ดำเนินการให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ
พลิกตะแคงตัว:ให้ญาติที่ดูแลเป็นผู้ดำเนินการ/ใช้นาฬิกาพลิกตะแคงตัวเป็นเกณฑ์
ขาดผู้ดูแล:ให้ อสม./CG/ญาติ ดูแล/ได้รับการสนับสนุนจากทีมกายภาพบำบัดทาง รพ.กาฬสินธุ์ในการออกเยี่ยมติดตามและฝึกกายบริหาร
สุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ดี:ให้ อสม./CG/ญาติ ดูแล ในเรื่องของการทำความสะอาด อาบน้ำ/ผ้าปูที่นอน/เจ้าหน้าที่ดูแลในกรณ์ที่มีอุปกรณ์พิเศษ
ทุพโภชนาการ: คนไข้บางรายมีอาหารเสริม/มีญาติที่ดูแลในเรื่องของอาหารเสริมอย่างดี
ข้อดี/ช้อเสีย
ข้อดี
c
ญาติสามารถติดต่อ/ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ได้โดยตรงหากเกิดกรณีฉุกเฉิน
ได้รับการสนับสนุนจากทีมสหวิชาชีพ
ข้อเสีย
เปลี่ยนผู้ดูแลผู้ป่วยบ่อยครั้งทำให้การดูแลไม่ต่อเนื่อง
ที่นอนลมไม่สามารถที่จะเบิกได้จากทาง รพ. ผู้ป่วยต้องชื้อเองหรือรับการบริจาค หากมีการชำรุดไม่สามารถจะเบิกได้
5.Function
หน้าที่หลักของระบบที่จะต้องแก้ปัญหาคือ
สนับสนุนที่นอนลม/กายอุปกรณ์ต่างๆ เช่น walker รถเข็น เป็นต้น
มีคนดูแล/ญาติดูแล
มีการพลิกตะแคงตัวทุก 2 ชม.
มีการทำแผล
มีทีมสหวิชาชีพออกตรวจเยี่ยม
มีภาวะโภชนาการที่ปกติ
ได้รับสวัสดิการจากทางรัฐ
ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการให้บริการกรณีฉุกเฉิน
7.กลไกการเกิดปัญหา
ระบุและทบทวนความเชื่อมโยงของสาเหตุต่างๆ
กลไกการเกิดโรค
แรงกดทับ ขาดเลือดไปเลี้ยง
แรงเสียดทานหรือความฝืด แรงต้านระหว่างผิวหนังกับวัสดุที่ผิวหนังสัมผัส
แรงตัด เกิดจากเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังถูกดึงผิดรูปในขณะที่ผู้ป่วยเคลื่อนที่
ความชื้นมากเกินไป ทำให้ผิวหนังเปื่อยยุ่ย และแตกเป็นแผล และเกิดแรงเสียดทานเพิ่มขึ้นที่ผิวหนัง
ภาวะทุพโภชนาการ ขบวนการหายของแผลบกพร่อง
การบาดเจ็บของระบบประสาท เคลื่อนไหวผิดปกติ ไม่มีความรู้สึก
จากการสัมภาษณ์ รับฟัง ที่มาของปัญหา ดังกล่าว
ขาดที่นอนลม/ชำรุด
อากาสร้อน อับชื้น
ภาววะทุพโภชนาการ/กินได้น้อย
เปลี่ยนผู้ดูแล/ไม่มีผู้พลิกตะแคงตัว
พบโจทย์ที่สำคัญ
ขาดที่นอนลม/ชำรุด/เบิกไม่ได้
อากาศร้อน ที่นอนอับชื้น
ข้อเสนอแนะจากอาจารย์
ที่นอนชำรุด/เสียหายได้ง่าย
สะสมของเชื้อโรค
ขั้นตอนของการทำความสะอาด
อากาศที่ร้อน
การสืบค้น/ทบทวนงานวิจัย
การสืบค้นจากเวป
การสืบค้น แบบ simple searchใช้กลุ่ม คำว่า “ที่นอน” พบ 264 รายการ
การสืบค้น แบบ complex search ใช้กลุ่ม คำว่า “ที่นอน”, “แผลกดทับ”, “กางเกง ” พบ 1 รายการ
ทบทวนงานวิจัย
ผลของการใช้นวัตกรรมที่นอนยางรถเพื่อป้องกันแผลกดทับ ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
ข้อจำกัดในการบรรจุลม
ประสิทธิผลของนวัตกรรม Gel Bed เพื่อลดการเกิด แผลกดทับในกลุ่มผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง โรงพยาบาลพะเยา
น้ำหนัก มาก เคลื่อนย้ายลำบาก
การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมชุดที่นอนลมจากถุงน้ำยาล้างไตเพื่อป้องกัน แผลกดทับในผู้ป่วยกระดูกต้นขาหักที่ได้รับการดึงถ่วงน้ำหนักที่ขา
ลมรั่ว
ผลของการใช้ผ้านาโนซิงค์ ออกไซด์ต่อการเกิดผดผื่น ความชื้นและอุณหภูมิบริเวณผิวหนังของผู้รับบริการติดเตียง ชุมชนคลองเตย
ไม่พบ
กางเกงลดแผลกดทับ
ไม่เหมาะกับแผลกดทับ เกรด 3-4, ไม่เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวมาก
ที่นอนเจลป้องกันแผลกดทับ
วัตถุประสงค์
. เพื่อประดิษฐ์นวัตกรรมที่ช่วยป้องกันและช่วยลดแรงกระจาย/แรงกดบริเวณพื้นผิวสัมผัส ระหว่างผิวหนังของผู้ป่วยกับพื้นที่ผิวที่รองรับน้ำหนัก โดยเฉพะบริเวณที่แผลกดทับ
เพื่อเป็นสิ่งประดิษฐ์นวัตกรรมที่ประหยัด ทำความสะอาดได้ง่าย ระบายอากาสได้ดี ใช้วัสดุไม่สิ้นเปลือง Recycle
วัสดุที่ใช้
ผ้านาโนชิงออกไชด์
ถุงนำ้ยาล้างไต
เจลรักษาความเย็น
ข้อเสนอแนะจากอาจารย์ที่ปรึกษา
ขนาดของผ้าที่จะใช้ กxย เท่าไหร่
รูปแบบของที่นอนที่เป็นช่องว่างระหว่างแนว
วิธีการทำ
รูปแบบการเขียนเพื่อขอสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
ต้นแบบ
ราคา
อ้างอิง
นางเบญจวรรณ หารัญดา รหัส 6350600683 นศ.ป.โท ปีที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน มข.
นางเบญจวรรณ หารัญดา รหัส 635060068-3