Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การขับถ่ายปัสสาวะ การเสียสมดุลน้ำและเกลือแร่, นางสาวณัฎฐณิชา นุชบ้านป่า…
การขับถ่ายปัสสาวะ การเสียสมดุลน้ำและเกลือแร่
ทางเดินปัสสาวะมี 2 ส่วน
Upper urinary tract
ท่อไต
ทำหน้าที่นำส่งน้ำปัสสาวะจากไตเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ
ไต
หน่วยไต : ควบคุมสมดุลของสารน้ำและสารต่างๆในร่างกาย ประกอบด้วย renal tubule และ glomerulus
Lower urinary tract
ท่อปัสสสวะ
ผู้ชาย 20 cm.
ผู้หญิง 4 cm.
กระเพาะปัสสาวะ
มีความจุประมาณ 550 มล.
รู้สึกปวดปัสสาวะ 160-300 มล.
ความผิดปกติในการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัสสาวะบ่อย (frequency of urination)
ปัสสาวะกระปิดประปอย (polakiuria)
ปัสสาวะบ่อยแต่ปริมาณน้ำปัสสาวะปกติ : โรคเบาหวาน โรคเบาจืด
ปัสสาวะลำบาก (dysuria)
ปัสสาวะขัด
: รู้สึกไม่สบายในระหว่างการถ่ายปัสสาวะ ความเจ็บปวดระหว่างปัสสาวะเป็นสัญญาณของการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ (UTI) ซึ่งอาจเป็นผลมาจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
ปัสสาวะลำบาก
: เมื่อปวดปัสสาวะเต็มที่แล้วต้องรอนานมากกว่า 5 วินาที จึงสามารถถ่ายปัสสาวะออกมาได้ หรือต้องออกแรงเบ่งจึงจะสามารถถ่ายปัสสาวะออกได้
ภาวะคั่งของน้ำปัสสาวะ (urinary retention)
การถ่ายปัสสาวะไม่ออกอย่างกะทันหัน ท้าให้มีการคั่งของน้ำปัสสาวะอย่างเฉียบพลัน (acute retention of urine)
การอุดตันเรื้อรัง ทำให่การขับถ่ายปัสสาวะยากลำบางและใช้เวลานาน
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (incontinance of urine)
น้ำปัสสาวะไหลเล่นออกมาโดยไม่สามารถการไม่ได้อาจเป็นชั่วคราวหรือถาวรมักพบในผู้สูงอายุ
ปัสสาวะมีหนองปน (pyuria)
ปัสสาวะที่มีหนองปนจะมองเห็นเป็นสีขาวขุ่นคล้ายนม มีกลิ่นเหม็น สาเหตุจากการติดเชื อของระบบทางเดินปัสสาวะ
พยาธิสรีรวิทยา
เชื้อจะเข้าไปในบริเวณท่อไตซึ่งจะกระตุ้นท่อไตให้บีบตัวเชื้อบางชนิดจะหลั่ง endotoxin ซึ่งมีผลต่อ α - adrenergic nerve ในกล้ามเนื้อเรียบ ทำให้การทำงานของท่อไตลดลงและมีการขยายตัวของท่อไต ก่อให้เกิดภาวะphysiologic obstruction และเกิด intrarenal reflux ได้ง่ายขึ้นทำให้เชื้อจับกับ receptor ที่บริเวณ collecting duct และ proximal tubules ทำให้เกิด acute pyelonephritis นอกจากนี้แบคทีเรียที่ไปถึงเนื้อไตจะก่อให้เกิดการอักเสบ โดย medulla จะติดเชื้อง่ายกว่า cortexเพราะมีเลือด มาเลี้ยงน้อยกว่า ร่วมกับมีภาวะ medullary hypertonicity ส่งผลให้มีการกระตุ้นacute phase reactants, complement และ lymphokines กระตุ้นนิวโตรฟิลมาทำลายแบคทีเรีย ทำให้เกิด superoxide และเกิดการทำลายเนื้อไตตามมา
UTI
ตรวจพบ costovertebral tenderness
มีไข้คลื่นไส้ อาเจียน และอ่อนแรง
ปัสสาวะขัด
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ปัสสาวะถี่
ปวดหน่วงบริเวณท้องน้อย
พบเลือดปนในปัสสาวะ
กรวยไตอักเสบ
ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะตอนบน
Acute Pyelonephritis
: หายภายใน 2-3 weeks
Chronic Pyelonephritis
: ไม่มีอาการแสดง เป็นๆหายๆ
ปวดสีข้างอย่างฉับพลัน
มีไข้สูง หนาวสั่นเป็นพักๆ
ปัสสาวะมักมีลักษณะขุ่นขาว
มีอาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน บางรายอาจมีอาการขัดเบา
โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
สาเหตุ
: การติดเชื้อแบคทีเรีย E.coli
ปัสสาวะบ่อย
รู้สึกแสบขัดขณะปัสสาวะ
ปัสสาวะมีเลือดปน
ปวดท้องน้อย
ปัสสาวะน้อย สีขุ่น มีกลิ่นเหม็นผิดปกติ
รักษา
: ทานยาปฏิชีวนะเป็นหลัก
หน่วยไตอักเสบเฉียบพลัน
(Acute glomerulonephritis/AGN)
มีเม็ดเลือดและโปรตีมากผิดปกติในปัสสาวะ
ของเสีนไนโตรเจนคั่งในเลือด
การคลั่งของเกลือและน้ำในร่างกาย
สาเหตุ
: การติดเชื้อแบคทีเรีย beta-hemolytic streptococcus group A
อาการและอาการแสดง
: ปัสสาวะออกมาเป็นสีแดงเหมือนน้ำล้างเนื้อ ปวดศีรษะ มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
การรักษา
: หากสงสัยควรส่งโรงพยาบาล ถ้ามีอาการชัก ให้ฉีดไดอะซีแพม และฟูโรซีไมด์ เข้าหลอดเลือดดำ
กลุ่มอาการโปรตีนรั่วในปัสสาวะ (Nephrotic Syndrome)
สาเหตุ
: กรวยไตเป็นแผล การกรองไตผิดปกติ เยื่อบุผิวภายในกรวยไตหนาตัวขึ้น กลุ่มอาการอะมีลอยโดซิส SLE โรคไตจากเบาหวาน ลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดไต
บวมบริเวณรอบดวงตา ท้อง แขน ขา ข้อเท้า และเท้า
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
ปัสสาวะเป็นฟอง
ปวดปัสสาวะน้อยมาก
อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร
ท้องเสีย
การรักษา
: ยาขับปัสสาวะ ยากดภูมิคุ้มกัน นาคอร์ติโคสเตียรอยด์ ยาลดคอเลสเตอรอล ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ยาควบคุมความดันโลหิต
ภาวะแทรกซ้อน
: ความดันโลหิตสูง ระดับไขมันคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น ภาวะลิ่มเลือดในหลอดเลือดอุดตัน ภาวะขาดสารอาหาร ภาวะไตวายเฉียบพลัน
ไตวาย
ไตวายเฉียบพลัน(Acute Kidney Failure)
ไตทำหน้าที่ได้ลดลงอย่างเฉียบพลัน ไม่เกิน 7 วัน
อาการ
ปัสสาวะน้อยลง
บวมที่ขา และเท้า
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
มึนงง อ่อนเพลีย
อาจมีอาการชักหรือหมดสติเข้าสู่ภาวะโคม่าแบบเฉียบพลัน
สาเหตุ
ภาวะที่ทำให้เลือดไปเลี้ยงไตไม่เพียงพอ
ภาวะไตบาดเจ็บโดยตรง
ภาวะอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ
พยาธิสรีรวิทยา
Initial phase
ร่างกายตอบสนองด้วยการทำงานของ sympathetic nervous system ทำให้หลั่งสาร epinephrine เกิดหลอดเลือดหดรัดตัวทั่วร่างกายเพื่อส่งเลือดไปเลี้ยง vital organs ในระยะช็อก เลือดจึงมาเลี้ยงไตลดลง
Maintenance phase
หลอดเลือดฝอยที่ไตอุดตัดและเนื้อไตตายเป็นหย่อมๆ เซลล์เยื่อบุหลุดลอกมาอุดกั้นตามหลอดเลือดไตเพิ่มมากขึ้น เกิด back leak เข้าสู่ collecting system ของน้ำปัสสาวะทำให้ eGFR ลดเร็ว
Recovery phase
มีการซ่อมแซมของเนื้อเยื่อและหลอดเลือดไต บริเวณที่ฟื้นคืนไม่ได้จะพบการตายของเนื้อไตเป็นหย่อม๐ชัดเจน ส่วนที่ฟื้นคืนได้จะเริ่มทำงานผลิตปัสสาวะและขับ BUN Cr ออก
การรักษา
Pre renal AKI : ให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทนจนกว่า volume status ของร่างกายเข้าสู่ภาวะปกติ
Post renal AKI : แก้ไขการอุดตันของระบบ KUB เช่น ใส่สาย Foley's catheter
Intrinsic AKI : ป้องกันไม่ให้ไตสูญเสียการทำงานเพิ่มเติม
ไตวายเรื้อรัง (Chronic Kidney Failure)
สภาวะที่ไตถูกทำลาย มีผลทำให้ความสามารถของไตในการทำงานลดลง
ระยะของโรคไตเรื้อรั้ง
ระยะ 1 => GFR > 90 : ไตเริ่มเสื่อม
ระยะ 2 => 60-90 : ไตเริ่มถูกทำลาย
ระยะ 3 => 30-60 : ไตเสื่อม
ระยะ 4 => 15-30 : ไตเริ่มวาย
ระยะ 5 => <15 : ไตวายระยะสุดท้าย (ESRD)
เกณฑ์การวินิจฉัย
ไตทำงานผิดปกติต่อกันนาน 3 เดือน
มีระดับ eGFR < 60 มล./นาที/1.73 ตร.เมตร ติดกันนาน 3 เดือน
การวินิจฉัย
เก็บปัสสาวะส่งตรวจ U/A
ค่า GFR
ค่า Serum creatinine สูงขึ้น > 3 เดือนติดต่อกัน
ตรวจ CBC พบ normochromic, normocytic anemia
Ultrasound ไตเล็กลงกว่าปกติ
พบ Renal osteodystrophy
สาเหตุ
กรวยไตและหน่วยไตอักเสบเรื้อรัง
โรคหลอดเลือด หลอดเลือดไปเลี้ยงไตตีบแคบ
การติดเชื้อ
ความผิดปกติของหลอดเลือดไตฝอย
ความผิดปกติที่เกิดจากการอุดตันในระบบทางเดินปัสสาวะ
ผิดปกติแต่กำเนิด/กรรมพันธุ์
เบาหวาน
ความดันโลหิตสูง
ภูมิแพ้ตัวเอง
ใช้ยาแก้ปวด/ได้รับยาสเตียรอยด์นานๆ
การรักษา
รักษาเฉพาะเจาะจงตามชนิดของโรคไตเรื้อรัง
ชะลอการเสื่อมของไต
ป้องกันและรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด
การักษาทดแทนไต
ไตวายระยะสุดท้าย (ESRD)
9้องได้รับการบำบัดทดแทนไต (RRT) : การฟอดเลือดด้วยไตเทียม การล้างไตทางหน้าท้อง การผ่าตัดปลูกถ่ายไต
โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ(Urolithiasis)
เกิดจากสารบางชนิดเข้าไปอุดตันตามระบบทางเดินปัสสาวะโดยเฉพาะ กระเพาะปัสสาวะ ท่อไต และไต ทำให้เกิดการขัดขวางทางเดินของน้ำปัสสาวะ
สาเหตุ
กรรมพันธุ์
ความผิดปกติของต่อมพาราไทรอยด์
ความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
การดื่มน้ำน้อย/สูญเสียน้ำมาก
รับประทานอาหารที่มียูริกสูงหรือสารออกซาเลตมากไป
การอักเสบติดเชื่อใรระบบทางเดินปัสสาวะ
อาการ
ปัสสาวะลำบาก/แสบขัด
ปัสสาวะไม่ออก/ปนเลือด
ปวดบริเวณบั้นเอวหรือท้อง ขึ้นอยู่กัยตำแหน่งของนิ่ว
การรักษา
รับประทานยาละลายนิ่ว เหมาะสำหรับนิ่วชนิดยูริกที่สามารถละลายได้โดยยา
การสะลายนิ่วโดยการใช้คลื่นกระแทก (ESWL)
Pyelolithotomy : การผ่าตัดกรวยไตเอานิ่วไตออก
Nephrolithotomy : การผ่าตัดเข้าไปที่ไตเปิดเข้าทางสีข้างไปที่ไต
Nephrectomy : การผ่าไตออกไปจ้างหนึ่ง
Ureterolithotomy : การผ่าตัดเปิดเข้าไปทางสีข้าง/หน้าท้องส่วนล่างไปถึงหลอดไตเปิดหลอดไตเอานิ่วในหลอดไตออก
Suprapubic cystolithotomy : การผ่าตัดเหนือหัวเข่าเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะ แล้วเอานิ่วออก
โรคต่อมลูกมากโต : BPH
พยาธิสรีรวิทยา
ระยะแรก ต่อมลูกหมากอุดกั้นเล็กน้อย รู้สึกปวดปัสสาวะจะราด หรือกลั้นไม่ได้
ระยะท้าย การอุดกั้นมากขึ้น การบีบตัวลดลง ปัสสาวะลำบาก
สาเหตุ
เชื่อว่า Dihydrotestosterone เป็นตัวกระตุ้นให้ต่อมลูกหมากโต
อาการ
อาการระคายเคืองกระเพาะปัสสาวะ : ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะเร่งรีบ ปัสสาวะตอนกลางคืน
อาการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ : ปัสสาวะไม่พุ่ง ปัสสาวะออกช้ ลำปัสสาวะสะดุด ปัสสาวะหยดตอนท้าย เบ่งปัสสาวะ ปัสสาวะค้าง
การรักษา
ยาคลายกล้ามเนื้อเรียบในต่อมลูกหมากให้คลายตัวลง
ยาช่วยลดขนาดต่อมลูกหมาก
ยาในกลุ่มสมุนไพร
การผ่าตัดส่องกล้องคว้านต่อมลูกหมาก (TURP)
เนื้องอกกระเพาะปัสสาวะ
สาเหตุ
สารก่อมะเร็งในน้ำปัสสาวะ
อาการ
ปัสสาวะปนเลือดโดยไม่เจ็บปวด ถ่ายปัสสาวะบ่อย ลำบาก มีเนื้องอกมาอุดบริเวณ ureteric orifice และทำให้มี hydronephrosis คลำพบก้อนบริเวณท้อง/ท้องน้อย
การรักษา
Transurethral resection and fulguration : เป็นการผ่าตัดโดยใช้ resectoscope สอดเข้าไปทางหลอดปัสสาวะ แล้วตัดเยื้องอกใชขั้นของ sperficial ออกเป็นชิ้นเล็กๆ
Paetial or segmental cystectomy : เป็นการตัดกระเพาะปัสสาวะออกบางส่วน
การรักษารังสี
การใช้เคมีบำบัด
การรักษาด้วยเลเซอร์
นางสาวณัฎฐณิชา นุชบ้านป่า เลขที่ 35 ห้อง 3A รหัสนักศึกษา 62106301036