Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศึกษาปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม(Pragmatism) เชื่อมโยงปรัชญาการศึกษา,…
ศึกษาปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม(Pragmatism) เชื่อมโยงปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม
ความเป็นมา
ต้นกำเนิดจากอเมริกา ปลายศตวรรษที่ 19
ผู้ให้กำเนิดคือ ชาร์ลส์ แซนเอดรส์ เพิร์ซ
มาจากสัจนิยมเชิงธรรมชาติ
บุคคลที่ทำให้เป็นที่รู้จัก คือ จอห์น ดิวอี้
นักปรัชญา
ชาร์ลส์ แซนเอดรส์ เพิร์ซ
ผู้ให้กำเนิดปรัชญาลัทธิปฏิบัตตินิยม
ผู้สร้างทฤษฎีความเชื่อและความสงสัย
จอห์น ดิวอี้
เชื่อในกฎของ ชาลส์ ดาร์วิน คนที่แก้ปัญหาได้คือคนที่อยู่รอด
วิลเลี่ยม เจมส์
เน้นการปฏิบัติจริง และมีประสิทธิภาพ
หลักการและแนวคิด
ความรู้และความจริงที่เป็นประสบการณ์ ประสบการณ์สามารถเปลี่ยนแปลงได้
องค์ประกอบ
ญาณวิทยา
การลงมือปฏิบัติ
คุณวิทยา
จริยศาสตร์ (ความดี) มนุษย์กำหนดเอง เปลี่ยนแปลงได้
สุนทรียศาสตร์ (ความงาม) ความต้องการ รสนิยมของคนส่วนใหญ่
อภิปรัชญา
สิ่งที่ได้จากการลงมือปฏิบัติ
แนวคิด
แนวคิดด้านการจัดการเรียนการสอน
Child center
เรียนโดยการแก้ปัญหา (โครงงาน)
สอนโดยการอภิปราย ถกเถียง
สอนผ่านกิจกรรม
แนวคิดด้านโรงเรียน
จัดห้องเรียนหลากหลาย
จัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
ฝึกปฏิบัติจริง
มีการทดลอง
แนวคิดหลักสูตร
เน้นความรู้ ชีวิตจริง สังคม ประสบการณ์ บูรณาการ
แนวคิดด้านผู้สอน
ครูปกิบัติด้วยเหมือนเป็นหัวหน้ากลุ่ม ทำกิจกรรมร่วมกับเด็ก
จุดมุ่งหมาย
ช่วยให้เด็กเรียนรู้ประสบการณ์
ให้เด็กปรับตัวได้กับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
แนวคิดด้านผู้เรียน
นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ มีความสนใจ ตั้งใจ อยากรู้ อยากเห็น
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม (Progessive)
จุดมุ่งหมายของการศึกษา
ผู้เรียนมีประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต
ผู้เรียนรู้จักปรับตัวเข้ากับสังคม
ผู้เรียนได้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตังเอง
ผู้เรียนเรียนตามความถนัด ความสนใจ ความสามารถ
นักปรัชญา
ฟรานซิส ดับเบิลยู ปาร์คเกอร์
เป็นบิดาของการศึกษาแผนใหม่
ปฏิรูปการศึกษาใหม่
โจฮันน์ ไฮน์ริค เปสตาลอสซี
เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย สติปัญญา และจิตใจ
เน้นการสอนแบบบูรณาการ
จอห์น ดิวอี้
การศึกษาก้าหน้า เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
ผู้นำแนวคิดการศึกษาแนวใหม่
ฌอง ฌาค รุสโซ
มนุษย์มีเสรีภาพตามธรรมชาติไม่จำกัด
เด็กเปรียบเสมือนผ้าขาว
ชาร์ล ดาวิน
เป็นนักเขียน เขียนหนังสือ สปีชีส์ ความอยู่รอดของผู้ที่เหมาะสม
ความหมายและแนวคิด
เป็นการต่อต้านแนวคิดดั้งเดิมที่เน้นการท่องจำ
ชีวิตเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้เสมอตามการเวลา
พัฒนาการเรียนรู้ในการค้นหาความจริง
วิเคราะห์พระราชบัญญัติการศึกษาที่สอดคล้องกับปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ2544
หลักสูตรการศึกษาที่มุ่งเน้นพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ2551
จัดการศึกษาออกเป็น3 ระดับ
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ2542
พรบ.การศึกษาแห่งชาติหมวดที่4 แนวทางการจัดการศึกษา
มาตรา 23 จุดเน้นการศึกษา
บูรณาการ
กระบวนการเรียนรู้
ความรู้
คุณธรรม
มาตรา 22
เป็นหัวใจของการศึกษา
กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
ผู้เรียนสำคัญที่สุด
พรบ.การศึกษาแห่งชาติมาตรา 24 ฝึกฝน กระบวนการคิดการจัดการเรียน การเผชิญสถานการณ์ และการประยุต์มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ปัญหา
องค์ประกอบของการจัดการศึกษาแบบพิพัฒนาการนิยม
ผู้เรียน
ลงมือปฏิบัติเองในเรื่องต่างๆ
หาความรู้ได้ด้วยตนเองจากปัญหาหรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ณ ขณะนั้น
ผู้บริหาร
บริหารงานโดยมีคณะทำงานคือบุคลากรในโรงเรียน
ให้ครูมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น การตัดสินใจในเรื่องต่างๆ
ผู้สอน
เป็นผู้กระตุ้น และส่งเสริม
เป็นผู้จัดสภาพสิ่งแวดล้อมให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
เป็นที่ปรึกษา
การวัดและประเมินผล
จากสภาพจริง
จากการปฏิบัติ
จากการสังเกตพฤติกรรม
กระบวนการจัดการเรียนการสอน
Child centered
เด็กลงมือปฏิบัตเพื่อหาความรู้ด้วยตัวเอง
หาความรู้โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เก็บข้อมูล
ตั้งสมมติฐาน
ทำการทดลอง
ตั้งคำถาม
สรุปผลการทดลอง
โรงเรียน
จำลองสถานการณ์สังคมในปัจจุบันเข้ามาไว้ในโรงเรียน
สร้างบรรยาการที่่ส่งเสริมการเรียนรู้
หลักสูตร
เน้นความรู้ที่เด็กสามารเอาไปใช้ได้จริงในชีวิตในขณะนั้น
เน้นบูรณาการเข้ากันในหลายวิชา
นางสาวกาญจนา หมัดสะริ นวัตกรรมการบริหารการศึกษา