Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารความเสี่ยง และความขัดแย้ง, นายทนุ รอดไว สาขานวัตกรรมการบริหาร…
การบริหารความเสี่ยง
และความขัดแย้ง
1.การบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง
ความหมาย
ความหมายของความเสี่ยง
เหตุการณ์หรือการกระทำที่ไม่พึงประสงค์ที่แฝงในทุกๆ
กิจกรรม ที่มีโอกาสเกิดขึ้นในอนาคต
ความหมายของการบริหารความเสี่ยง
กระบวนการที่ทุกคนในองค์กรต้องมีส่วนร่วมในการหาและ
ให้ข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจเลือกยุทธศาสตร์ กำหนด
เป้าหมาย จัดทำแผน เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
ธรรมขาติของความเสี่ยง
ความเสี่ยงที่มีความแน่นอน
ความผิดพลาดจากการปฏิบัติงานของมนุษย์
ความผิดพลาดจากการทำงานของเครื่องจักร
ขีดจำกัดความสามารถของมนุษย์
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
ความเสี่ยงที่ไม่มีความแน่นอน
ภัยธรรมชาติที่รุนแรง
น้ำท่วม
แผ่นดินไหว
ภัยจากน้ำมือมนุษย์
การปล้น
การจี้
การทุจริต
ปัจจัยของความเสี่ยง
ปัจจัยภายใน
ขนาดขององค์กร
ความสลับซับซ้อน
คุณภาพของระบบควบคุมภายใน
อัตราการเจริญเติบโตขององค์กร
ความสามารถของฝ่ายบริหาร
การทุจริตทางการบริหาร
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
พนักงานศีลธรรมเสื่อม
ปัจจัยภายนอก
ความเสี่ยงจากภาครัฐ
ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
ประเภทของความเสี่ยง
ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน
ความเสี่ยงด้านการเงิน
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
การบริหารความเสี่ยง
แนวทางของหลัก COSO
สภาพแวดล้อมภายในองค์กร
การกำหนดวัตถุประสงค์
หลัก SMART
Specific
Measurable
Altainable
Relerant
Timely
การบ่งชี้เหตุการณ์
การประเมินความเสี่ยง
การตอบสนองความเสี่ยง
หลัก 4T
Take
Treat
Tranfer
Terminate
กิจกรรมควบคุม
ข้อมูลและการติดต่อสื่อสาร
การติดตาม
ประโยชน์ของการบริหารความเสี่ยง
เพิ่มการไขว้คว้าโอกาส
สามารถระบุและจัดการความเสี่ยง
ช่วยเพิ่มประสิทธิผล ลดผลกระทบ
ช่วยลดการดำเนินงานที่จะเบี่ยงเบนเป้าหมาย
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน
ทำให้องค์กรมีความยืดหยุ่นในการปรับตัว
2.การบริหารความขัดแย้ง
ความขัดแย้ง
ความหมาย
ทุกสิ่งทุกอย่างที่ตรงกันข้ามกันหรือการเป็นปรปักษ์ต่อกัน
ธรรมชาติของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งเป็นเรื่องธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นเมื่ออยู่ร่วมกัน
ความหมายความขัดแย้งของนักทฤษฎี
คาร์ล มาร์ค
ความขัดแย้งและการเปลี่ยนแปลงเป็นของคู่กัน
โสเครตีส
ความขัดแย้งแบบสมเหตุสมผล
ค้าน
ข้อเสนอเบื้องต้นและข้อขัดแย้ง
เวบเบอร์
การแข่งขันเป็นรูปแบบหนึ่งของความขัดแย้ง
ซิมเมล
ความขัดแย้งเป็นปฏิสัมพันธ์รูปแบบหนึ่ง
แนวคิดเกี่ยวกับความขัดแย้ง
แนวคิดประเพณีนิยม
ความขัดแย้งเป็นสิ่งไม่ดี ถูกมองในแง่ลบและควรหลีกเลี่ยง
แนวคิดมนุษยสัมพันธ์
เกิดขึ้นตามธรรมชาติในทุกกลุ่มคนทุกองค์การ
ความขัดแย้งไม่ใช่สิ่งที่เลวร้ายเสมอไป
แนวคิดปฏิสัมพันธ์
ทำให้เกิดผลดีต่อกลุ่ม เพราะเป็นตัวบังคับให้เกิดประสิทธิภาพ
การเปรียบเทียบแนวคิดความขัดแย้ง
แนวคิดเดิม
เป็นสิ่งไม่ดีควรหลีกเลี่ยง
เกิดจาการผิดพลาดการบริหารงานและการสื่อสาร
ทำลายความสามัคคีของกลุ่ม
ภารกิจของผู้บริหารคือการขจัดความขัดแย้ง
แนวคิดปัจจุบัน
เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หลีกเลี่ยงไม่ได้
เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น โครงสร้างองค์กร
ความขัดแย้งมีทั้งประโยชน์และโทษ
ภารกิจของผู้บริหารคือการขจัดความขัดแย้ง
ประเภทของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งภายในบุคคล
บุคคลไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้
บุคคลสามารอบรรลุเป้าหมายได้ แต่มีทั้งชอบและไม่ชอบ
บุคคลสามารถบรรลุเป้าหมายได้มากกว่า 1 วิธี
บุคคลมีเป้าหมาย 2 อย่างที่พอใจเท่าๆ กัน แต่เลือกได้เพียงอย่างเดียว
บุคคลมีเป้าหมาย 2 อย่างที่ไม่พอใจเท่าๆ กัน และต้องเลือกอย่างหนึ่ง
บุคคลมีเป้าหมาย 2 อย่างทั้งพอใจและไม่พอใจ
แต่ต้องเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
บุคคลสามารถบรรลุเป้าหมายได้ แต่ต้องการเปลี่ยน
เป้าหมายเมื่อเวลาผ่านไปแล้ว
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
เกิดจากบุคคลมีความแตกต่างกัน
เกิดจากสาเหตุต่างๆ
ความขัดแย้งภายในกลุ่ม
บุคคลเมื่อรวมตัวเป็นกลุ่มมักมีความคิดเห็นที่ต่างกัน
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม
ความคิดเห็นของกลุ่มตัวเองอาจแตกต่างกับกลุ่มอื่น
เลยส่งผลให้เกิดการขัดแย้ง
ความขัดแย้งภายในองค์การ
ความขัดแย้งต่างระดับ
ความขัดแย้งระดับเดียวกัน
ความขัดแย้งในบทบาท
ความขัดแย้งระหว่างองค์การ
เป็นความขัดแย้งระหว่างองค์การที่ต้องใช้ทรัพยากร
ร่วมกันหรือลูกค้ากลุ่มเดียวกัน
สาเหตุของความขัดแย้ง
โครงสร้างองค์การและการบริหาร
การจัดสรรสรรพยากร
การเปลี่ยนแปลงเทคนิคและการปฏิบัติงาน
ความแตกต่างในหน้าที่หรือลักษณะงาน
ความรู้และความคิดเห็น
ค่านิยมและความเชื่อ
ผลประโยชน์
ความมีอคติต่อกัน
การบริหารความขัดแย้ง
วิธีการ 4R
Reason
Reaction
Result
Resolution
แบบจำลอง AEIOU
Acknowledge
Express
Identify
Outcome
Understanding
การเจรจาต่อรอง
ตรงเข้าไปแก้ปัญหา
มุ่งไปที่เป้าหมายเดียวกัน
ลดความขัดแย้งโดยการขยายทรัพยากร
การประนีประนอม
ใช้กำลังหรือบีบบังคับ
เปลี่ยนโครงสร้างองค์กร
จอห์นสัน เดวิด
และจอห์นสัน โรเจอร์
เต่า (ถอนตัว,หดหัว)
ฉลาม (บังคับ,ใช้กำลัง)
ตุ๊กตาหมี (ราบรื่น)
สุนัขจิ้งจอก (ประนีประนอม)
นกฮูก (เผชิญหน้า)
ประโยชน์และโทษของความขัดแย้ง
ข้อดี
เกิดแรงจูงใจในการทำงาน
เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
แลกเปลี่ยนความรู้
ปรับปรุงและพัฒนางานให้ดีขึ้น
เกิดแนวทางการแก้ไขปัญหา
ข้อเสีย
เกิดความตึงเครียด
ขาดการประสานงาน
มีการก้าวร้าว กดขี่
ฉวยโอกาสใช้เป็นข้อเรียกร้อง
มุ่งเอาชนะมากกว่ามองผลกระทบ
นำไปสู่ความยุ่งเหยิง
ความสัมพันธ์ของความเสี่ยงและความขัดแย้ง
ความสัมพันธ์
ความเสี่ยงที่จะเกิดความขัดแย้ง
ความขัดแย้งอาจส่งผลต่อการเกิดความเสี่ยง
ความต่าง
ความขัดแย้ง เกิดขึ้นในช่วงขณะ
ความเสี่ยง อาจเกิดขึ้นในอนาคต
ตัวอย่างกรณีศึกษา
สั่งหยุดสอน หลังคลิปครูสาวทะเลาะกันต่อหน้าเด็ก
กระทรวงศึกษาธิการจัดเตรียมความพร้อมจัด 5 รูปแบบ
การเรียนการสอนยุคโควิด-19
สุดทนชาวบ้านกว่า 100 คน ไล่ ผู้อำนวยการ
หลังบริหารงานไม่โปร่งใส
กรณีศึกษาในประเทศไทย
ความเสี่ยง
แผนบริหารความเสี่ยงโรงเรียนมหาภาพกระจาดทองอุปถัมภ์
พิจารณาปัจจัยต่างๆที่อาจส่งผลเกิดความเสี่ยง
ทำแผนบริหารความเสี่ยง
แผนการบริหารความเสี่ยงการทุจริต
โรงเรียนชุมชนหนองบัวโคก (ทองวิทยานุกูล)
แผนบริหารความเสี่ยงเกี่ยวกับเรื่องงบประมาณ
แผนบริหารจัดการความเสี่ยง สพป.ชัยภูมิ เขต 3
จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงด้านต่างๆ
ด้านการเงิน
ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านการปฏิบัติงาน
แผนบริหารจัดการความเสี่ยงศูนย์การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอห้างฉัตร
ทำแผนบริหารความเสี่ยงตามโครงการที่มี
ความขัดแย้ง
การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สพม. 2
วัตถุประสงค์
ศึกษาการบริหารความขัดแย้ง
เปรียบเทียบการบริหาร
เพศ
วุฒิการศึกษา
ประสบการณ์
ขนาดของสถานศึกษา
ศึกษา
ความคิดเห็น
ข้อเสนอแนะ
ผลการวิจัย
ผลการศึกษาอยู่ในระดับดีมาก
ควรเลือกใช้วิธีที่เหมาะสมกับสถานการณ์
กลยุทธ์การบริหารความขัดแย้งในองคก์ารของผู้บริหาร
โรงเรียนอ่างศิลาพิทยาคม อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี
ผลการวิจัย
ใช้วิธีการประนีประนอม
การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สพปชลบุรีเขต 3
ผลการวิจัย
ใช้วิธีเอาชนะ
ใช้วิธียอมให้
ใช้วิธีประนีประนอม
ใช้วิธีหลีกเลี่ยง
กรณีศึกษาในต่างประเทศ
ความเสี่ยง
Earthquake disaster risk management planning in schools
ปัจจัยเสี่ยง
แผ่นดินไหว
การบริหารความเสี่ยง
ศึกษาและพัฒนาระบบการจัดการแผ่นดินไหว
ที่เหมาะสมในโรงเรียน
Analysis of Manager and Teacher Opinions on the
Management of School Risks in the Framework of
the Internal Control Risk Management Model
การบริหารความเสี่ยง
ศึกษาทั้งองค์ประกอบภายในและภายนอก
ความสามัคคีในองค์กร
ผลการวิจัย
ประการสำคัญคือ การตรวจสอบการทำงานอย่างสม่ำเสมอ
การวิเคราะห์ความเสี่ยงของโรงเรียน
ส่งผลให้สามารถบริหารความเสี่ยงระดับสูงได้
ความขัดแย้ง
Examining Principals’ Conflict Management Styles:
A Study of Turkish Administrators
ผลการวิจัย
รูปแบบที่ใช้บ่อยที่สุดโดยตัวการหลักคือการผสมผสาน
และการประนีประนอม
รูปแบบที่ใช้น้อยที่สุดคือการบังคับ และ หลีกเลี่ยง
Conflict Management Strategies of
the Leaders of Inspection Groups in Turkey
ผลการวิจัย
แก้ปัญหาโดยวิธีการประนีประนอม
การใช้อำนาจ และการหลีกเลี่ยง
จุดประสงค์ของการศึกษา
เพื่อสำรวจกลยุทธ์การจัดการความขัดแย้งของ
ผู้นำกลุ่มกำกับดูแลในตุรกี ในการกำกับดูแลสถานศึกษา
และบุคลากร
นายทนุ รอดไว
สาขานวัตกรรมการบริหารการศึกษา