Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม (Pragmatism) เชื่อมโยงกับปรัชญากา…
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม (Pragmatism)
เชื่อมโยงกับปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม
ความหมาย
ให้ความสำคัญกับความรู้และความเป็นจริง
ความรู้และความจริงที่เป็นประสบการณ์ มีการเปลี่ยนแปลงไม่ตายตัว
ประสบการณ์ถึงจะเป็นจริงแต่ก็เป็นสิ่งที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
ความเป็นมา
พัฒนามาจากปรัชญาสัจนิยเชิงธรรมชาติ เกิดขึ้นในอังกฤษ
ปฏิบัตินิยมจัดเป็นปรัชญาของอเมริกา เพราะถือกำเนิดในอเมริกา
เป็นปรัชญาร่วมสมัยเพราะเพิ่งถือกำเนิดมาไม่ถึง 100 ปี
นักปรัชญา
ชาร์ลส์ แซนเดอรส์เพิร์ซ
ผู้ให้กำเนิดปรัชญาปฏิบัตินิยม
ผู้คิดสร้างทฤษฎีความสงสัยและความเชื่อ
วิลเลี่ยมเจมส์
ยืนยันความคิดของเพิร์ซว่าถูกต้องและนำไปใช้ได้จริง
เจมส์ถือว่ามนุษย์ควรยึดความคิดของตนเองในแง่ที่เห็นว่ามีประสิทธิภาพ
จอห์น ดิวอี้
ผู้ทดลองหาความคิดที่ดีที่สุดเพื่อปรับใช้กับชีวิตประจำวัน
เชื่อว่าความอยู่รอดของสรรพสัตว์ ขึ้นอยู่กับการปรับตัวของสิ่งนั้นๆ
องค์ประกอบ
อภิปรัชญา
การปฏิบัติเปลี่ยนแปลงได้
ญาณปรัชญา
การคิดวิเคราะห์ การค้นหาความจริง เป็นกระบวนที่ไม่สิ้นสุด
คุณวิทยา
ด้านจริยศาสตร์
ความดี
ด้านสุนทรียศาสตร์
ความงาม
การนำแนวคิดปรัชญามาประยุกต์ใช้กับการศึกษา
หลักสูตร
เป็นเนื้อหาที่บูรณาการทั้งเรื่องความรู้ เรื่องของชีวิต สังคม และประสบการณ์
เน้นความรู้ทางกายภาพที่นำมาปรับในชีวิตจริงได้
การสอน
การเรียนการสอนผ่านกิจกรรม
เรียนโดยแก้ปัญหา
การเรียนการสอนโดยการอภิปรายถกเถียง
โรงเรียน
จัดห้องเรียนที่หลากหลาย
ส่งเสริมใหเด็กมีการทำลอง
ส่งเด็กออกไปฝึกงานตามสถานที่จริง
จัดสิ่งแวดล้อมดีๆ
ผู้เรียน
เชื่อว่าเด็กทุกคนมมีความคิดที่สร้างสรรค์
เด็กจะดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับครูผู้สอน
ผู้สอน
เป็นเสมือนเพื่อนหรือหัวหน้ากลุ่มในการทำกิจกรรมม
ให้เด็กเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมกับการศึกษา
ความหมาย
พิพัฒน หมายถึง ก้าวกน้า เปลี่ยนแปลง ไปตามกาลเวลา
ประสบการณ์จะนำไปสู่ความรู้
เป็นปรัชญาที่เน้นกระบวนการ
เรียกอีกอย่างว่า ปรัชญาประสบการณ์นิยม
ความเป็นมา
เกิดขึ้นโดยนักคิดกลุ่มเสรีนิยม
ต่อต้านแนวคิดดั้งเดิมที่เกี่ยวกับการศึกษา
แนวคิดพื้นฐาน
มีแนวคิดเช่นเดียวกับปรัชญาปฏิบัตินิยม
องค์ประกอบที่มีอิทธิพลสูงสุดในการกำหนดรูปแบบของวัฒนธรรมและสังคม
เชื่อว่ามนุษย์เป็นผู้กำหนดอนคตตนเอง
นักปรัชญา
ชาร์ล ดาวิน
เชื่อว่าสิ่งมีชีวิตต้องต่อสู้เพื่อความอยู่รอด
ฌอง ฌาค รุสโซ
มนุษย์มีเสรีภาพตามธรรมชาติโดยไม่จำกัด
ความคิดของรุสโซมีอิทธิพลต่อการปฏิวัติฝรั่งเศสปี พ.ศ.2332
โจฮันน์ ไฮน์ริค เปสตาลอสซี่
การศึกษาธรรมชาติถือเป็นหลักสูตรของการเรียนการสอน
มุ่งเน้นการจัดการหลักสูตรแบบบูรณาการ
จัดการศึกษา รวมถึงพัฒนาร่างกาย สติปัญญาและจิตใจ
ฟรานซิส ดับเบิลยู ปาร์คเกอร์
เสนอให้ปฏิรูปการศึกษาใหม่
จอห์น ดิวอี้
เป็นผู้นำแนวคิดการศึกษาแบบก้าวหน้า
เด็กเรียนรู้ได้จากประสบการณ์ตรง
การเรียนรู้เกิดขึ้นจากการกระทำ
คำนึงความสนใจและความสามารถของเด็ก
การศึกษา
แนวคิดการศึกษา
การศึกษาคือชีวิต มิใช่การเตรียมตัวเพื่อชีวิต
การเรียนมุ่งพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
จุดมุ่งหมายการศึกษา
มุ่งให้ผู้เรียนรู้จักปรับตีว
มุ่งให้ผู้เรียน เรียนตามความถนัด ความสนใจ
ส่งเสริมประชาธิปไตยทั้งในและนอกห้องเรียน
มุ่งให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ในการดำรงชีวิต
องค์ประกอบการศึกษา
หลักสูตร
เน้นการจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน
เสริมสร้างความเข้าใจตนเอง
เนื้อหาวิชาเกี่ยวข้องกับสภาพและปัญหาของสังคมปัจจุบัน
ผู้สอน
แนะนำและให้คำปรึกษาเป็นหลัก
มีความรู้ ความสามารถในการวางแผน
เข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล
เป้นผู้กระตุ้น
ผู้เรียน
ผู้เรียนได้ประสบการณืด้วยการลงมือ
มีส่วนร่วมนการเลือกหรือกำหนดกิจกรรม
ผู้บริหาร
เป็นผู้ดำเนินงานไปตามข้อตกลง
เป็นนักประชาธิปไตย
กระบวนการเรียนการสอน
มุ่งให้ผู้เรียนรวมกลุ่มกิจกรรม
เน้นเรื่องการสาธิต อภิปราย การค้นคว้ารายงาน
ใช้วิธีการสอนแบบ แก้ปัญหา
การวัดและประเมินผล
ความรู้เป็นเพียงเครื่องมือที่จะช่วยมนุษย์ในการแก้ปัญหาเท่านั้น
โรงเรียน
ทำหน้าที่เป็นแบบจำลองสังคม
สร้างบรรยากาศที่เป็นประชาธิปไตย
ตัวอย่างการนำปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมไปใช้ในการศึกษา
โรงเรียนวัดโพธิวงษ์
หลักสูตร
หลักสูตรแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอน
Child center
Learning by doing
ผู้สอน
รู้จักผู้เรียนเป็นอย่างดี
แนะแนวทางให้แก่นักเรียน
ผู้เรียน
Learning by doing
Child center
ผู้บริหาร
นักประชาธิปไตย
การวัดและประเมินผล
ด้านความรู้
ด้านความดี
โรงเรียน
จัดแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน
จำลองรูปแบบสภาพสังคม
วิเคราะห์ พระราชบัญญัติที่สอดคล้องกับปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
วิเคราะห์ปรัชญาการศึกษากับพรบ.การศึกษาแห่งชาติ
หมวด 4 การจัดการศึกษา
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้
หมวดที่ 1 มาตรา 7
วิเคราะห์ปรัชญาพิพัฒนาการศึกษากับหลักสูตรแกนกลาง 2544
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
วิเคราะห์ปรัชญาพิพัฒนาการศึกษากับหลักสูตรแกนกลาง 2551
จัดระดับการศึกษาเป็น 3 ระดับ