Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม (Pragmatism) เชื่อมโยงกับปรัชญาการ…
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม (Pragmatism) เชื่อมโยงกับปรัชญาการศึกษา
1.ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม
ความเป็นมา
ถือกำเนิดในอเมริกาปลายคริสตศตวรรษที่ 19
ผู้ให้กำเนิด ชาร์ลส์ แซนเดอรส์ เพิร์ซ
พัฒนามาจากปรัชญาสัจนิยมเชิงธรรมชาติ
ผู้ที่ทำให้เป็นที่รู้จัก จอห์น ดิวอี้
นักปรัชญา
วิลเลียมแจมส์
ยืนยันความคิดของเพิร์ช ว่าถูกต้องและนำไปใช้ได้ผลจริง
นักปฎิบัตินิยมที่แท้จริง
จอห์น ดิวอี้
ทดลองหาความคิดที่ดีที่สุดเพื่อปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้
เชื่อความอยู่รอดของสรรรพสัตว์
เน้นการปรับตัวเข้ากับสังคม
ชาร์ลส์ แซนเดอรส์ เพิร์ช
ผู้ให้กำเนิดปรัชญาปฏิบัตินิยม
ผู้คิดสร้างทฤษฎีความสงสัยและความเชื่อ
หลักการและแนวคิด ความรู้และความจริงที่เป็นประสบการณ์ มีการเปลี่ยนแปลงได้
องค์ประกอบ
อภิปรัชญา(ความจริง)
เป็นสิ่งที่ได้จากการปฏิบัติ เปลี่ยนแปลงได้
ญาณวิทยา(ความรู้)
การลงมือปฏิบัติ
คุณวิทยา(คุณค่า)
จริยศาสตร์(ความดี) สิ่งที่มนุษย์สร้างและกำหนดขึ้นมา เปลี่ยนแปลงได้
สุนทรียศาสตร์(ความงาม) ความต้องการและรสนิยมที่คนส่วนใหญ่ยอมรับ
ความหมาย มนุษย์บรรลุจุดมุ่งหมายของชีวิตและประสบการณ์เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้
2.การนำแนวคิดปรัชญาการศึกษาลัทธิปฏิบัตินิยมมาประยุกต์ใช้กับการศึกษา
แนวคิดด้านการเรียนการสอน
ยึดหลักการเรียนรู้โดยใช้เด็กเป็นศูนย์กลาง (Child Center)
ลักษณะของการเรียนการสอน 3 แบบ
การสอนผ่านทางกิจกรรม
เรียนโดยการแก้ปัญหา
การเรียนการสอนโดยการอภิปรายถกเถียง
แนวคิดด้านโรงเรียน
จัดห้องเรียนที่หลากหลาย
ส่งเสริมทำงานเป็นห้องเรียน มีการทดลอง
จัดสิ่งแวดล้อมที่ดีและเหมาะสมกับการเรียน
ส่งเด็กออกไปฝึกงานตามสถานที่จริง
แนวคิดด้านหลักสูตร
เน้นที่การบูรณาการทั้งความรู้ ชีวิต สังคมและประสบการณ์
เน้นความรู้ทางกายภาพที่สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตจริงได้
แนวคิดด้านผู้สอน
เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนทุกเรื่อง
ครูเป็นเสมือนเพื่อนหรือหัวหน้ากลุ่มของเพื่อน
จุดมุ่งหมาย
ช่วยเสริมให้เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์
ผู้เรียนพร้อมที่จะแก้ปัญหาของตนด้วยตนเอง
แนวคิดด้านผู้เรียน
โดยธรรมชาติเด็กมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เด็กจะดีหรือไม่ดีจึงขึ้นอยู่กับครูผู้สอนเป็นอย่างมาก
3.ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
นักปรัชญา
โจฮันน์ ไฮน์ริค เปสตาลอสซี่
มุ่งเน้นจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ
เด็กควรพัฒนาร่างกาย สติปัญญาและจิตใจ
ฟรานซิส ดับเบิลยู ปาร์คเกอร์
บิดาของปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
เสนอให้ปฏิรูประบบการศึกษาใหม่
ฌอง ฌอค รุสโซ
เด็กเปรียบเสมือนผ้าขาว
มนุษย์มีเสรีภาพตามธรรมชาติไม่จำกัด
จอห์น ดิวอี้
ผู้นำของแนวคิดการศึกษาแบบก้าวหน้า
เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง การเรียนรู้เกิดจากการกระทำ
ชาร์ล ดาวิน
แนวคิดความอยู่รอดของผู้ที่เหมาะสม
จุดมุ่งหมายของการศึกษา
ผู้เรียนเรียนตามความถนัดความสนใจและความสามารถ
ส่งเสริมประชาธิปไตย
รู้จักปรับตนเองเข้ากับสังคม
ผู้เรียนรู้จักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
พัฒนาผู้เรียนด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา
ผู้เรียนมีประสบการณ์ในการดำรงชีวิต
ความหมายและแนวคิดพื้นฐาน
พัฒนาในการเรียนรู้ในการหาความรู้ความจริง
เพื่อต่อต้านแนวคิดดั้งเดิมที่เน้นท่องจำเนื้อหา
ก้าวหน้าเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
5.วิเคาระห์ พระราชบัญญัติที่สอดคล้องกับปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ2544
หลักสูตรการศึกษาที่มุ่งเน้นพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
ปรัญญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ2551
จัดการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ระดับ
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6)
ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6)
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ2542
พรบ การศึกษาแห่งชาติ หมวดที่ 4 แนวทางการจัดการศึกษา
มาตรา 22
หัวใจของการศึกษา
ผู้เรียนสำคัญที่สุด
กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ
มาตรา 23 จุดเน้นการศึกษา
ความรู้
การะบวนการเรียนรู้
คุณธรรม
บูรณาการ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติมาตรา 24 ฝึกฝน กระบวนการคิดการจัดการเรียน การเผชิญสถานการณ์ และประยุกต์มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ปัญหา
4.องค์ประกอบของการจัดการศึกษาแบบพิพัฒนาการนิยม
ผู้เรียน
ลงมือปฏิบัติเองในเรื่องต่างๆ
หาความรู้ได้ด้วยตนเองจากปัญหาหรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ณ ขณะนั้น
ผู้บริหาร
บริหารงานโดยมีคณะทำงานคือบุคลากรในโรงเรียน
ให้ครูมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น การตัดสินใจในเรื่องต่างๆ
ผู้สอน
เป็นผู้กระตุ้น และส่งเสริม
เป็นผู้จัดสภาพสิ่งแวดล้อมให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
เป็นที่ปรึกษา
กระบวนการจัดการเรียนการสอน
Child centered
เด็กลงมือปฏิบัติเพื่อหาความรู้ด้วยตนเอง
หาความรู้โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เก็บข้อมูล
ตั้งสมมติฐาน
ทำการทดลอง
สรุปผลการทดลอง
ตั้งคำถาม
การวัดและการประเมินผล
จากการปฏิบัติ
จากการสังเกตพฤติกรรม
จากสภาพจริง
หลักสูตร
เน้นบูรณาการเข้ากันในหลายวิชา
เน้นความรู้ที่เด็กสามารถเอาไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
โรงเรียน
จำลองสถานการณ์สังคมในปัจจุบันเข้ามาไว้ในโรงเรียน
สร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้
นางสาวเนตรนภิส สุขปลั่ง
64U54620118
สาขาวิชานวัตกรรมการบริหารการศึกษา