Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อบังคับสภาพการพยาบาลว่าด้วยข้อกำจัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพ -…
ข้อบังคับสภาพการพยาบาลว่าด้วยข้อกำจัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพ
หมวดที่1 บททั่วไป
ข้อ4 กำจัดบทความ
การรักษาโรคเบื้องต้น
กระบวนการวินิจฉัยการรักษาโรค การบาดเจ็บ การป้องกันและการปฐมพยาบาลเพื่อแก้ไขปัญหาอาการของโรคบรรเทาความเจ็บป่วย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยกระทันหันเป็นภัยต่อการดำรงชีวิต
การเจ็บป่วยวิกฤต
การเจ็บป่วยที่รุนแรงที่อาจส่งผลถึงแก่ชีวิต
การปฐมพยาบาล
การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ที่บาดเจ็บหรือผู้เจ็บป่วยดูแลเพื่อบรรเทาอาการเพื่อส่งเสริมการหายเจ็บป่วย
การให้ภูมิคุ้มการ
กระบวนการที่ทำให้ร่างกายสร้างหรือมีภูมิต้านทานต่อโรค โดยการให้วัคซีน
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพพยาบาล
การพยาบาล
ข้อ 5
ผู้ประกอบวิชาชีพชั้น1และผู้ประกอบวิชาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1กระทำการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล
5.1 ส่งเสริม รักษา ป้องกัน ฟื้นฟู
5.2 สอน แนะนำ ให้คำปรึกษา และแก้ไขปัญหาสุขภาพสร้างพลังอำนาจในการดูแลตนเอง
5.3 จัดสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมสุขภาพ
5.4 ปฏิบัติตามแผนการพยาบาลหรือตามที่หมอสั่งประสานทีมสุขภาพในการจัดบริการให้เป็นไปตามมาตรฐานการพยาบาล
5.5 ให้การพยาบาลที่บ้านส่งเสริม ความสามารถของบุคคล ครอบครัว ชุมชน
ข้อ 6 ผู้ประกอบวิชาชีพจะต้องให้ยาตามที่แพทย์ระบุไว้
6.1 ห้ามให้ยาหรือสารละลายในช่องรอบเยื่อบุไขสันหลัง
6.2 ห้ามให้ยาหรือสารที่เกี่ยวข้องกับรังสี
6.3 ห้ามให้ยาหรือสารละลายทางหลอดเลือดดำ ได้แก่ กลุ่มสารละลายทึบรังสี กลุ่มยาระงับความรู้สึกที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
ข้อ 7
ในกรณีที่การกระทำพยาบาลเป็นปัญหายุ่งยากซับซ้อนผู้ประกอบการวิชาชีพการพยาบาลชั้น2และผู้ประกอบการพยาบาลวิชาชีพและการผดุงครรภ์
ข้อ 8 ผู้ประกอบวิชาชีพชั้น2 สามารถให้ยาทา ยาทาน ยาพ่นได้ตามแผนการรักษา
การทำหัตถการ
ข้อ 9 ผู้ประกอบวิชาชีพชั้น 1 ทำการพยาบาลหัตถการตามขอบเขตที่กำหนด
9.1 พยาบาลทำแผล ตกแต่งแผล เย็บแผลได้ไม่เกินชิ้นเนื้อไขมันใต้ผิวหนังและไม่อันตรายต่ออวัยวะสำคัญ
9.2 ผ่าฝี ผ่าตัดเอาสิ่งที่แปลกปลอม ผ่าตัดตาปลา เลาะก้อนใต้ผิวหนัง ที่ไม่อันตรายต่ออวัยวะสำคัญใช้ยาระงับความรู้สึกได้ฉีดยาชาเฉพาะที่ให้ได้
9.3 ถอดเล็บ จี้หูด จี้ตาปลา สามารถให้ยาระงับความรู้สึกทางผิวหนังหรือฉีดยาชาเฉพาะที่ได้
9.4 ให้ออกซิเจน
9.5 ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำในผู้ป่วยวิกฤต มีความเสี่ยงต่อภาวะช็อค ให้แผนการรักษาได้ทันที
9.6 ให้ยาทางปาก ทางผิวหนัง ทางหลอดเลือดดำได้ตามแผนการรักษาที่หมอสั่งหรือตามสภากำหนด
9.7 พยาบาลให้เลือดตามแผนการรักษา
9.8 เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง ด้วยการดูดเสมหะหรือเคาะปอด
9.9 ช่วยฟื้นคืนชีพแก้ปัญหาวิกฤตของผู้ป่วย
9.10 เช็ดตา ล้างตา หยอดตา ป้ายตา ปิดตา ล้างจมูกได้
9.11 ใส่สายยางลงในกระเพาะให้อาหารและยาหรือเพื่อล้างกระเพาะ ตามแผนการรักษา
9.12 เปลี่ยนสวนปัสสาวะในรายที่ไม่มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
9.13 สวนทวารหนักในรายที่ไม่มีข้อบ่งชี้อันตราย
9.14 การดามการใส่เฝือกชั่วคราวได้
9.15 ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
9.16 เจาะเก็บตัวตัวอย่างเลือดจากหลอดเลือดดำส่วนปลายปลายนิ้วเพื่อส่งตรวจ
9.17 หัตถการอื่นตามที่สภาการพยาบาลกำหนด
หมวดที่ 3 การรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกัน
ข้อ 10 ผู้ประกอบ วิชาชีพการพยาบาลและผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1ให้การรักษาโรคเบื้องต้นและภูมิคุ้มกันโรค
ข้อ 11 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1 ผ่านการอบรมตามหลักสูตรสภาการพยาบาล
ข้อ 12 ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลและผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้น 1 ต้องทำการรักษาโรคเบื้องต้นตามข้อกำหนดของสภาการพยาบาล
ข้อ 13 ผู้ประกอบวิชาชีพและผู้ประกอบวิชาผดุงครรภ์ชั้น1 ถ้าจำเป็นต้องใช้ยาสามารถให้ยาตามคู่มือการใช้ยาตามที่สภากำหนด
ข้อ 14 ผู้ประกอบวิชาชีพและผู้ประกอบวิชาชีพผดุงครรภ์ชั้น 1 ต้องให้ต้องปฏิบัติตามแนวทางการให้ภูมิตุ้นกันโรคตามที่กระทรวงสาธารณสุข
ข้อ 15 ต้องมีบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติผู้ป่วย ผู้รับบริการ อาการ การเจ็บป่วย โรค การพยาบาล วัน เวลา ในการให้การบริการ ชื่อผู้ประกอบการวิชาชีพตามความเป็นจริง บันทึกไว้เป็นหลักฐาน 5 ปี
หมวดที่ 4 การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ส่วนที่ 1 ระยะก่อนตั้งครรภ์และระยะตั้งครรภ์
ข้อ 16 ให้การผดุงครรภ์แก่หญิงครอบครัวที่ต้องการมีบุตรตามกระบวนการ
ข้อ 17 แนะนำส่งต่อหญิงมีครรภ์ให้ได้รับการตรวจรักษากับแพทย์ ตามเกณฑ์การฝากครรภ์
ข้อ 18 ส่งต่อหญิงตั้งครรภ์กลุ่มเสี่ยงให้ได้รับการรักษากับแพทย์หรือส่งต่อโรงพยาบาลที่มีความพร้อมเพื่อความปลอดภัยต่อมารดาเเละทารก
ส่วนที่ 2 ระยะคลอด
ข้อ 19 สามารถที่ทำการผดุงครรภ์ได้เฉพาะรายที่ตั้งครรภ์ปกติคลอดอย่างปกติ
ข้อ 20 ให้การผดุงครรภ์หญิงมีครรภ์ระยะก่อนคลอดประเมินมารดา ประเมินทารก ประเมินความก้าวหน้าในการคลอด
ข้อ 21 การพยาบาลระยะคลอด
ข้อ 22 ช่วยเหลือแพทย์ในการทำคลอดในรายที่คลอดผิดปกติ
ข้อ 23 ห้ามเจาะน้ำคร่ำ ห้ามทำคลอดที่มีความผิดปกติ ห้ามล้วงรก ห้ามกลับท่าทารกในครรภ์ ห้ามใช้มือกดท้องในการช่วยคลอด ห้ามเย็บที่มีการฉีกขาดระดับ 3 ห้ามทำแห้ง
ข้อ 24 ทำการช่วยคลอดฉุกเฉินในกรณีที่หาแพทย์ไม่ได้และเป็นอันตรายต่อมารดาและทารกแต่ห้ามใช้คีมสูงหรือใช้เครื่องสูญญากาศในการทำคลอด
ข้อ 25 รักษาอาการตกเลือดตามความจำเป็น
ส่วนที่ 3 การพยาบาลมารดาและทารก ระยะหลังคลอด
ข้อ 26 ให้การพยาบาลกับมารดาหลังคลอดอย่างใกล้ชิดป้องกันภาวะเเทรกซ้อน
ข้อ 27 ใช้ยาทำลายและป้องกันการติดเชื้อสำหรับหยอดตาหรือป้ายตาทารกแรกเกิดทันที
ข้อ 28 ประเมินสัญญาณชีพ ความผิดปกติ ความพิการทารกแรกเกิดในมารดาได้สัมผัสโอบกอดทารกเริ่มให้ดูดนมจากมารดาภายในชั่วโมงแรกหลังคลอด
ข้อ 29 บันทึกรายงานเกี่ยวกับหญิงตั้งครรภ์ให้การบริการตามความจริง
ข้อ 30 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้น 2 ห้ามกระทำการยุ่งยากซับซ้อนกับผู้ประกอบวอชาชีพการผดุงครรภ์ชั้น 1
ส่วนที่ 4 การวางแผนครอบครัวและการคัดกรองมารดาและทารก
ข้อ 31 สามารถกระทำการพยาบาล วางแผนครอบครัวได้ ให้คำปรึกษาได้
ข้อ 32 สามารถทำการคัดการคัดกรองมารดาทารก ทำการ Pap smear ประเมินภาวะสุขภาพขางทารก
ข้อ 33 ผู้ประกอบวิชาชีพและการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น 2 ให้การวาวแผนครอบครัวแบบใช้ยาหรืออุปกรณ์
ข้อ 34 ต้องปฏิบัติตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรคตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ข้อ 35 ผู้ประกอบผดุงครรภ์ชั้น 2 ให้คำแนะนำเรื่องการเข้ารับภูมิคุ้มกันโรคและติดตามให้มารับภูมิคุ้มกันโรค