Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 หัวใจและหลอดเลือดวิกฤติ HTN crisis, นางสาวเจนจิรา…
บทที่ 2 หัวใจและหลอดเลือดวิกฤติ HTN crisis
Hypertensive crisis
หมายควาว่า
ภาวะที่มีความดันโลหิตสูงมาก ต้องการการลดความดันโลหิตรวดเร็วทันที
ส่วนใหญ่ Diastolic > 140 mmHg และมีพยาธิสภาพรุนแรงที่อวัยวะเป้าหมายเช่น หัวใจ หลอดเลือดสมอง ตา และไต (Kaplan,1992)
ความดันโลหิตสูงวิกฤติ เป็นภาวะที่ร่างกายมีระดับความดันโลหิตสูงกว่าปกติมากๆ ใน
ระยะเวลาสั้น โดยที่ไม่มีเกณฑ์แน่นอนที่วัดว่าสูงระดับใด แต่โดยทั่วไปอาจประมาณได้ว่ามีความดันโลหิตสูงกว่า 180/110 mmHg ซึ่งเกิดจากผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง
อยู่แล้วไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต ให้ลดลงเข้าสู้ระดับปกติได้
แบ่งเป็น 2 แบบ
ความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน (Hypertensive emergencies)
มีความต้องการลดความดันโลหิตภายใน 1 ชม.เช่น มีอาการทางสมอง (hypertensive encephalopathy) มีเลือดออกในสมอง
เลือดเซาะผนังหลอดเลือด Aorta (acute aortic dissection)HT จาก Pheochromocytoma
เป็นภาวะที่ต้องให้การรักษาอย่างทันที
ความดันโลหิตสูงรีบด่วน (Hypertensive urgency)
ต้องการลดความดันโลหิตเร่งด่วน แต่น้อยกว่าแบบฉุกเฉิน เช่น ในภาวะความดันโลหิตสูงชนิดร้ายแรง (malignant hypertension)
ความดันโลหิตสูงกะทันหันหลังหยุดยาลดความดันโลหิตความดันโลหิตสูงหลังการผ่าตัดไต
Nicardipine
ข้อบ่งใช้
ใช้ควบคุมความดันโลหิต เมื่อยาลดความดันโลหิตชนิด
รับประทานใช้แล้วไม่ได้ผลหรือกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถรับประทานยาได้ โดยใช้ในช่วงระยะเวลา
สั้นๆและใช้ควบคุมความดันโลหิต ในผู้ป่วยที่มีภาวะ Hypertensive crisisเช่นในผู้ป่วยที่มีภาวะ Eclamsia,
Hypertensive encephalopathyหรือในผู้ป่วยที่ต้องการลดความดันโลหิตอย่างรวดเร็วในช่วงเวลาสั้นๆ
การพยาบาล
เนื่องจากผู้ป่วยมีอาการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งอาการ และระดับความดันโลหิต
พยาบาลต้องดูแลแบบทดแทนทั้งหมดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้แก่
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจาก IICPการตกเลือดในสมองฤทธิ์ข้างเคียงของยาภาวะพร่องออกซิเจน
การดูแลที่จำเป็นในภาวะวิกฤต
วัดสัญญาณชีพตลอดเวลา สม่ าเสมอ เช่น ทุกครั้งที่ปรับยา
ขวดยาต้องมีฉลากบอกชัดเจน ใช้เครื่องนับหยดสารละลาย
ปรับยาตามแผนการรักษา ปริมาณที่ให้ตรงกับการรักษา
บันทึก NS ,VS อาการและอาการแสดง ดูแลอาการเปลี่ยนแปลง ถ้ามีรายงานแพทย์
I/O
ระวังความดันลดจนต่ าเกินไป
นอนท่าศีรษะสูง ยาบางตัวออกฤทธิ์ดีในท่านี้
การรักษา
เป้าหมาย : ความดันโลหิตลดลงทันที แต่ลดที่ละน้อยจนถึงสูงกว่าปกติเล็กน้อย
หากลดลงมากจะท าให้ความสามารถของร่างกายบกพร่องในการปรับปริมาตรเลือดที่ไหลเวียน เป็นเหตุให้อวัยวะได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ
ลดให้เหลือ systolic 150-160 mmHgdiastolic 100-110 mmHg
Sodium nitroplusside
ใช้รักษาความดันโลหิตสูงวิกฤติเริ่มแรกใช้ขนาด 0.3 mcg/kg/min หยดเข้าหลอดเลือดดำ (ห้ามฉีดทีเดียว) ยาจะเริ่มออก
ฤทธิ์ประมาณ 30 วินาที หลังให้ยา ปรับอัตราการหยดตามความดันโลหิตทุก 5 นาทีสูงสุดมาเกิน 10 mcg/kg/min (อัตราตั้งแต่ 2 mcg/kg/min )
จะเริ่มมีไซยาไนด์สะสมใน
เลือด อัตราที่เกิน 10 mcg/kg/min และจะเกิดพิศของไซยาไนด์ภายใน 1 ชั่วโมง) ระหว่างที่ให้ยาต้องติดตามภาวะ Metabolic acidosis
และระดับของกรด Lactic ในเลือดเป็นระยะ
เมื่อความดันลดลงแล้วจ งให้ยาความดันตัวอื่นเข้าไปแทนร่วมกับปรับลดอัตราการหยดของโซเดียมไนโตรพรัสไซด์จนหยุดได้
ข้อบ่งใช้ขนาดยาและวิธีใช้
Hypertensive crisis, Reduce bleeding during surgery ขนาดยาเริ่มที่ 0.3-0.5mcg kg min เพิ่มขนาดยาทุกๆ 2-3 นาทีจนสามารถควบคุมอาการได้หรือจนผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะหรือคลื่นไส้อาเจียน, ขนาดปกติ 3 mcg kgmin, Maximum dose 10 mcg / kg / min
ปฏิกิริยาต่อกันของยา
สารปิดกั้นปมประสาท • สารที่ไม่เป็นพิษเป็นลบ ยาชาทั่วไป (Iu, halothane, enflurane) สารลดความหนาแน่นของการไหลเวียนโลหิต
ข้อห้ามใช้การรักษา
ภาวะความดันโลหิตสูงแบบชดเชย, การควบคุมความดันเลือดต่ำระหว่างการผ่าตัดในผู้ป่วยที่มีการไหลเวียนในสมองไม่เพียงพอ ใช้ระหว่างการผ่าตัดฉุกเฉินในผู้ป่วยที่ใกล้เสียชีวิต แต่กำเนิด (Leber's) ออปติกฝ่อหรือยาสูบมัว การรักษา CHF เฉียบพลันที่เกี่ยวข้องกับการดื้อต่อหลอดเลือดส่วนปลายลดลง
แนวทางการบริหารยา
IV infusion เท่านั้นห้ามให้ IV push ระวังชื่อยาคล้ายกับ Nitroglycerin, Nitroglycerol ระวังการใช้ชื่อย่ออาจทำให้สับสนเช่น NTG, SNP
อาการไม่พึงประสงค์
Excessive hypotension,
cyanide toxicity
การผสมยาเเละความคงตัวของยา
สารละลายที่ผสมเข้ากันได้: 1D5W, NSS, LRI ความคงตัวหลังผสมเก็บยาให้พ้นแสงยามีความคงตัวหากผสมใน D5w ได้นาน 24 ชั่วโมงทั้งในตู้เย็นและอุณหภูมิห้อง, หากมีสีเปลี่ยนเป็นเข้มขึ้น (ส้ม, น้าตาลเข้ม, น้าเงิน) ห้ามใช้เนื่องจากเกิดการสลายตัวของยาซึ่งจะปลดปล่อย cyanide ออกมาขณะให้ยาต้องใช้อลูมิเนียมฟอล์ยหรือผ้าทีบหุ้มขวดยาและสายน้ำเกลือจนถึงจุดให้ยา
แนวทางการติดตามยา
ตรวจวัด BP, HR เพื่อติดตามผลการรักษาและเฝ้าระวังภาวะ acidosis •เฝ้าระวังภาวะ acidosis เนื่องจากเป็นภาวะเริ่มต้นของการเกิด cyanide toxicity กรณีให้ยานานกว่า 4 วัน
พยาธิสรีรวิทยา
เพิ่มจาก hypertension คือ มีการท าลายหลอดเลือดมากขึ้นตามอวัยวะเป้าหมายต่างๆ
และร่วมกับอวัยวะอื่นๆด้วยเช่น การท าหน้าที่ของไตบกพร่องมี wbc ,Rbc รั่วออกมาในปัสสาวะ
Azotemia พบยูเรียและไนโตรเจน ในเลือดโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกในหลอดเลือดฝอยที่มีความผิดปกติLeft Ventricular Failure หัวใจเต้นเร็ว รัว ผิดจังหวะ หัวใจโตIschemic heart disease น้ าท่วมปอดIncrease Intra Cranial Pressure , Stroke
การรักษาHypertensive crisis
ลดให้เหลือ 160/100 mmHg
ยาที่ใช้ ได้แก่- Sodium nitroplusside + 5%D/W Vein drip ป้องกันแสง
Nicardipine โดย ปรับอัตราการหยดขึ้น - ลง (tritrate) เพื่อให้ได้ปริมาณปรับอัตราการหยดขึ้น
ลง (tritrate) เพื่อให้ได้ปริมาณยา
นางสาวเจนจิรา มายชะนะUDA6280049