Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม เชื่อมโยงกับปรัชญาการศึกษา,…
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม
เชื่อมโยงกับปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม
ความหมาย
สิ่งใดที่เรียกว่าจริงได้ ต้องเป็นสิ่งที่ช่วยให้มนุษย์
บรรลุจุดมุ่งหมายของชีวิต
ความรู้และความจริงที่เป็นประสบการณ์
มีการเปลี่ยนแปลง ไม่ตายตัว
ความเป็นมา
พัฒนามาจากปรัชญาสัจนิยมเชิงธรรมชาติ
จัดเป็นปรัชญาของอเมริกา
เพิร์ช คือผู้ให้กำเนิดปรัชญา
ดิวอี้ ทำให้ปรัชญานี้เป็นที่รู้จัก
นักปรัชญา
ชาร์ล แซนเดอร์ส์เพิร์ช
ผู้ให้กำเนิดปรัชญาปฏิบัตินิยม
ลงมือทำด้วยการปฏิบัติ
วิลเลียมเจมส์
มนุษย์ควรยึดความคิดของตนใน
แง่ที่เห็นว่ามีประสิทธิภาพในทาง
ปฏิบัติมากที่สุด
จอห์น ดิวอี้
ความอยู่รอดของสรรพสัตว์
ขึ้นอยู่กับการปรับตัว
เน้นสังคมปัจจุบันในการปรับตัวเพื่อความอยู่รอด
องค์ประกอบ
อภิปรัชญา
การปฏิบัติเปลี่ยนแปลงได้
เป็นสิ่งที่ปฏิบัติและคนในสังคมยอมรับ
ญาณวิทยา
การลงมือปฏิบัติ
การค้นหาความจริงเป็นกระบวนการที่ไม่มีที่สิ้นสุด
คุณวิทยา
จริยศาสตร์
มนุษสร้างและกำหนดขึ้นมาเอง เปลี่ยนแปลงได้
สุนทรียศาสตร์
เป็นเรื่องของความต้องการและรสนิยมที่คนยอมรับ
การนำแนวคิดปรัชญาการศึกษาลัทธิปฏิบัตินิยม
มาประยุกต์ใช้ในการศึกษา
จุดมุ่งหมาย
ช่วยเสริมให้เด็กได้เรียนรู้ประสบการณ์ต่างๆ
ด้านหลักสูตร
เนื้อหาวิชาเป็นแบบบูรณาการ
ด้านการเรียนการสอน
ยึดเด็กเป็นศูนย์กลาง
การเรียนการสอนโดยผ่านทางกิจกรรม
เรียนโดยการแก้ปัญหา
สอนโดยอภิปรายถกเถียง
ด้านโรงเรียน
จัดห้องเรียนให้มีความหลากหลาย
ให้เด็กทำงานเป็น มีการทดลอง
ให้เด็กฝึกจากสถานการณ์จริง
ด้านผู้สอน
เป็นเสมือหัวหน้ากลุ่มดำเนินกิจกรรมไปพร้อมกับนักเรียน
ให้นักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในการเลือกวิธีที่จะเรียน
ด้านผู้เรียน
เด็กทุกคนโดยธรรมมีความคิดสร้างสรรค์
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
กับการศึกษา
ความหมาย
บุคคลสามารถหาความรู้ได้จากประสบการณ์
ความเป็นมา
เกิดขึ้นโดยนักคิดกลุ่มเสรีนิยม
ต่อต้านแนวคิดเดิม ที่เน้นท่องจำเนื้อหาอย่างเดียว
แนวคิดพื้นฐาน
ชีวิตเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้เสมอ
เชื่อว่ามนุษย์เป็นผู้กำหนดโชคชะตาของตนเอง
นักปรัชญา
ชาร์ล ดาวิน
สิ่งมีชีวิตต้องต่อสู้เพื่อความอยู่รอด
ฌอง ฌาค รุสโซ
เด็กเปรียบเสมือนผ้าขาว
เปสตาลอสซี่
การจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ
ฟรานซิส ปาร์คเกอร์
เสนอปฏิรูปการศึกษาเพราะแบบเก่า
เน้นระเบียบวินัยเข้มงวดไป
จอห์น ดิวอี้
ผู้นำแนวคิดการศึกษาแบบก้าวหน้า
เด็กเรียนรู้ได้จากประสบการณ์ตรง
การเรียนรู้เกิดจากการกระทำ
ความนึงถึงความสนใจและความสามารถของผู้เรียน
การศึกษา
แนวคิด
การศึกษาคือชีวิต มิใช่เป็นการเตรียมตัวเพื่อชีวิต
จุดมุ่งหมาย
พัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
ผู้เรียนรู้จักปรับตัวเข้ากับสังคม
ผู้เรียนเรียนตามความถนัด ความสนใจ
ส่งเสริมประชาธิปไตยทั้งในและนอกห้องเรียน
รู้จักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
มีประสบการณ์ในการดำรงชีวิต
องค์ประกอบ
หลักสูตร
เน้นกิจกรรมหรือประสบการณ์
ผู้เรียน
เป็นศูนย์กลาง
ผู้สอน
กระตุ้นผู้เรียน
ผู้บริหาร
เป็นนักประชาธิปไตย
กระบวนการเรียนการสอน
ใช้วิธีการสอนแบบแก้ปัญหา
การวัดและการประเมินผล
ผู้เรียนมีสามารถในการแก้ปัญหามากน้อยเพียงใด
โรงเรียน
ทำหน้าที่เป็นแบบจำลองสังคม สร้างบรรยากาศประชาธิปไตย
ตัวอย่างการนำปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
ไปใช้ในการศึกษา
โรงเรียนวัดโพธิวงษ์
ด้านหลักสูตร
เน้นให้ผู้เรียน เกิดความรู้ มีคุณธรรม
และเสริมสร้างทักษะอาชีพ
ด้านการจัดการเรียน
การสอน
เด็กเป็นศูนย์กลาง
การเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ
ด้านผู้สอน
การแนะแนวทางให้แก่ผู้เรียน
มีความรู้และประสบการณ์อย่างกว้างขวาง
ด้านผู้เรียน
เด็กเป็นศูนย์กลาง
การลงมือกระทำด้วยตนเอง
มีอิสระในการเลือกตัดสินใจ
ด้านผู้บริหาร
เป็นนักประชาธิปไตยให้ผู้อื่นมีส่วนร่วม
แสดงความคิดเห็น
ด้านการวัดและประเมินผล
ด้านความรู้
มุ่งวัดความเป็นเลิศทางวิชาการทางสมอง
ควบคู่ไปกับทักษะการปฏิบัติ
ด้านความดี
รู้จักคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น
ด้านโรงเรียน
เป็นแบบจำลองที่ดีงามของชีวิต
และประสบการณ์ในสังคม
วิเคราะห์พระราชบัญัติที่สอดคล้องกับ
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
จุดมุ่งหมายการศึกษา
พัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมบูรณ์
ทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสติปัญญาไปพร้อมๆ กัน
พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ(ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ(ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562
องค์ประกอบของการศึกษา
หลักสูตร
ที่สัมพันธ์กับชีวิตประจำวันหรือปัญหา
อันเป็นความจำเป็นในสังคม
กระบวนการเรียนการสอน
ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์
และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา
ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ
และความถนัดของผู้เรียน
ผู้สอน
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมี
ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียน
มีความสำคัญที่สุด
มาตรา 23 การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา
ผู้เรียน
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และ
ถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา
ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ
เต็มตามศักยภาพ
ผู้บริหาร
มาตรา 9
มีเอกภาพด้านนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ
มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา
และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กร เอกชน องค์กร
วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
การวัดและการประเมินผล
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ
เต็มตามศักยภาพ
นายทนุ รอดไว
สาขานวัตกรรมการบริหารการศึกษา