Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hypoglycemic agents - Coggle Diagram
Hypoglycemic agents
insulin
T 1/2 5-6 นาที
ยาฉีด insulin
ใช้ในผู้ป่วย type 1 diabetes ทุกราย
ใช้ในผู้ป่วย type 2 diabetes
ที่ใช้ยาเม็ดแล้วแล้วไม่สามารถควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือดได้
กลุ่มผู้ป่วยที่ต้องใช้ insulin ชั่วคราว
หญิงตั้งครรภ์
ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดใหญ่
50% ถูกทำลายที่ตับ
ประเภทของยาฉีด insulin
short acting insulin
intermediate acting insulin
rapid acting insulin
long acting insulin
ใน granule ของ B-cell อยู่ในรูป hexamer
ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับ insulin
การเกิดภาวะ hypoqlycemia
ผู้ป่วยมีอาการปวดหัว เหงือออก ใจสั่น กระสับกระส่าย อ่อนเพลีย ชาในช่องปากหรือริมฝีปาก เดินเซ หงุดหงิด มองภาพไม่ชัด หน้ามืด ตาลาย
การแก้ไข
ให้อาหารพวก carbohydrate ที่ดูดซึม เช่น นํ้าหวานหรือนํ้าผลไม้ ผลไม้รสหวาน อาการจะเกิดภายใน 5-10 นาที ในรายหมดสติควรได้รับ glucagon
เกิดจากการให้ insulin ในขนาดมากเกินไป รับประทานอาหารน้อยเกินไป รับประทานอาหารผิดเวลา ออกกำลังกายหรือทำงานมากกว่าปกติ
ในกระแสเลือดจะอยู่ในรูป monomer
โรคเบาหวาน
เกิดจากความผิดปกติของกระบวนการ metabolism
ส่งผลทำให้ระดับนํ้าตาลในเลือดสูงขึ้น
การวินิจฉัยโรคเบาหวาน
พิจารณาจากค่าระดับนํ้าตาลในเลือด
ค่าระดับนํ้าตาลในเลือด
HbA1C
ค่าที่แสดงถึงนํ้าตาลที่ไปเกาะเม็ดเลือด
เป็นค่ที่สะท้อนระดับนํ้าตาลในเลือดเฉลี่ยในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา
OGTT
ระดับนํ้าตาลในเลือดหลังมื้ออาหารเมื่อเวลาผ่านไป 2 ชั่วโมง
ทดสอบโดยการกิน glucose เข้าไป 50-70 กรัม
ตรวจ FBS ปกติ
แต่มีภาวะของโรคเบาหวาน
ตรวจ FBS
ไม่สามารถวินิจฉัยได้ว่าเป็นเบาหวานแน่นอน
FBS
ระดับนํ้าตาลในเลือดตอนเข้าหลังจากงดนํ้าและอาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
RPG
การสุ่มวัดระดับนํ้าตาลในเลือดโดยไม่มีกำหนดเวลาอดอาหาร
ปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะนํ้าตาลในเลือดสูงในโรคเบาหวาน
ลดการใช้ glucose
มีการสร้าง glucose ในร่างกายมากยิ่งขึ้น
ลดการหลั่ง insulin จากตับอ่อน
ประเภทของโรคเบาหวาน
type 1 diabetes
เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าเบาหวานที่ต้องพึ่งพา insulin
เกิดจากการขาด insulin
ก่อให้เกิดการทำลายตับอ่อนโดยตรงหรือไม่ตอบสนองต่อตัวกระตุ้นในการ insulin ได้
เริ่มมีอาการตั้งแต่วัยเด็กและมักจะอายุสั้นถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง
type 2 diabese
เรียกอีกชื่อว่า เบาหวานไม่พึ่ง insulin
เกิดจากการที่ร่างกายมีภาวะดื้อต่อ insulin
ทำให้การตอบสนองของร่างกายต่อ insulin น้อยลง
ระดับ insulin ในร่างกายอาจจะปกติหรือตํ่า
แต่มีการผิดปกติในการหลั่ง insulin
มีการสร้าง glucose เพิ่มขึ้น
ปัจจัยเสี่ยงของ type 2
อายุที่มากขึ้น
ภาวะอ้วนลงพุง
ภาวะ metabolic syndrom
ขาดการออกกำลังกาย
other specific types
คือ โรคเบหวานที่เกิดจากสาเหตุอื่น
เบาหวานที่เกิดจากความผิดปกติของพันธุกรรม
ความผิดปกติของ exocrine gland
gestational diabetes
คือเบาหวานที่พบในหญิงตั้งครรภ์และกลับไปเป็นปกติได้หลังคลอด
ทำไมต้องควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือด?
ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรัง
macrovascular complication
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดส่วนปลาย
โรคหัวใจและหลอดเลือด
microvascular complication
nephropathy
neuropathy
retinopathy
ยาลดนํ้าตาลในเลือด
insulin secretaqoques
ได้ผลดีในผู้ป่วยที่มีอายุ 40 ปี และมีประสิทธิ โรคเบาหวานมานานน้อยกว่า 5 ปี
ไม่ควรให้ใน type 1 diabetes
มีประโยชน์ในการรักษาโรคเบาหวานชนิดที่ 2
แบ่งออกเป็น
ยากลุ่ม sulfonylurea
กลไกการออกฤทธิ์
เภสัชจลนศาสตร์
metabolism ที่ตับ
ยาถูกขับออกทางตับและไต
แบ่งออกเป็น
1 generation
tolbutamide
2 generation
qlibenclamide
qlipizide
qlimipiride
การใช้ทางคลินิก
ใช้ในการรักษา type 2 diabetes
ผลข้างเคียง
hypoqlycemia
นํ้าหนักตัวเพิ่ม
hyperinsulinemia
ดีซ่าน
disufiram-like reaction
แพ้ยาเนื่องจากมี sulfa อยู่ในโครงสร้าง
aqranulocytosis
ข้อห้ามใช้
type 1 diabetes
ผู้ที่มีภาวะตับและไตรุนแรง
สตรีมีครรภ์
ผู้ที่เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย
ผู้ที่แพ้ sulfa
ติดเชื้อ
ผู้ที่ได้รับการผ่าตัด
ยากลุ่ม meqlitinide
incretin-based therapies
incretin ที่นำมาใช้ทางคลินิก คือ glucagon-like peptide-1 (GLP-1)
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย
incretin anagon
exetinide,liraglutide
การใช้ทางคลินิก
ใช้ฉีดเข้าใต้ผิวหนังเพื่อรักษา type 2 diabetes ร่วมกับยาตัวอื่นๆ
ควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือดหลังอาหาร
ทนต่อการทำลายโดยเอ็นไซม์ dipeptidyl peptidase-IV (DPP-IV)
ผลข้างเคียง
รบกวนทางเดินอาหารทำให้คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง
hypolycemia
ห้ามใช้ร่วมกับ insulin เพราะจะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoqlycimia เพิ่มขึ้น
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์โดยการจับกับ GLP-1 receptor ซึ่งอยู่ที่ islets ของตับอ่อนทางเดินอาหาร ทำให้ระดับ cAMP เพิ่ม insulin จึงหลั่งออกมามากขึ้น
อัตรกิริยา
ทำให้การดูดซึมของยากินชนิดอื่นๆช้าลง
incretin enhancer
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์โดยการยับยั้งเอ็นไซม์ DPP-IV ซึ่งเป็นเอ็นไซม์ที่ทำลาย incretin
ผลข้างเคียง
ทำให้เกิดการติดเชื้อที่ทางเดินหายใจส่วนบน
ได้แก่ sitaqliptin,saxaqliptin
ข้อดี
ยากลุ่มนี้ไม่ทำให้เกิด hypoglycemia
เป็นฮอร์โมนจากทางเดินอาหารมีผลกระตุ้นการหลั่ง insulin ลดการหลั่ง glucagon
alfa- qlucosidase inhibitor
ยากลุ่มนี้ ได้แก่ acarbose,miqlitol,volqlibose
การใช้ทางคลินิก
รักษา type 2 diabetes
ผลข้างเคียง
แน่นท้อง ท้องอืด มีลมในท้องมาก ผายลมบ่อย อุจจาระ
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งเอ็นไซม a-qlucosidase (เอ็นไซม์ a-qlucosidase ทำหน้าที่ย่อย oliqosaccharide และ disaccharide ให้เป็น monosaccharide แล้วดูดซึม)
pramlitide
ผู้ป่วยเบาหวานขาด amylin เช่นเดียวกับขาด insulin
กลไกการออฤทธิ์
ออกฤทธิ์เหมือนกับ amylin คือ จับกับ amylin receptor แล้วทำให้ระดับนํ้าตาลในเลือดลดลง โดย
ทำให้อาหารถูกส่งผ่านจากกระเพาะอาหารสู่ลำไส้ช้าลง
ลดความอยากอาหารลงโดยกระตุ้น satiety center ใน hypothalamus
ลดการหลั่ง glucose หลังอาหาร
amylin ทำงานร่วมกับ insulin ในการควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือด
การใช้ทางคลินิก
ใช้เป็นยาฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ใช้ร่วมกับ insulin ในการรักษา type 1 diabetes และ type 2 diabetes
ยาเป็น analog ของ amyline ซึ่งเป็น neurohormone หลังจากที่ beta cell พร้อมกับ insulin
ผลข้างเคียง
รบกวนทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
เพลีย มึนศีรษะ
ส่งเสริมให้เกิกภาวะ hypoglycemia เมื่อใช้ร่วมกับ insulin
อัตรกิริยา
ทำให้ยากินชนิดอื่นๆ ถูกดูดซึมช้าลง
insulin senseitizer
กระตุ้นตามความไวต่อ insulin ที่เซลล์เป้าหมายต่างๆ
ใช้เดี่ยวๆไม่ทำให้เกิดภาวะนํ้าตาลในเลือดตํ่า
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย ตามโครงสร้าง
กลุ่ม biguanide
โครงสร้าง
ยากลุ่มนี้ ได้แก่ metformin
การใช้ทางคลินิก
ใช้เป็นยาเดี่ยวหรือร่มกับยาตัวอื่นในการรักษา type 2 diabetes
ใช้รักษา type 1 diabetes
เภสัชจลนศาสตร์
ไม่จับกับ plasma protein
ยาถูกขับออกทางไต
ถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารได้ดี
ข้อดี
เหมาะกับผู้ป่วยที่รูปร่างอ้วน
ลดระดับ TG 8%
ทำให้เกิดการเบื่ออาหาร
ลดระดับ TG 15%
ทำให้นํ้าหนักผู้ป่วยลดลง
กลไกการออกฤทธฺ์
ทำให้ระดับนํ้าตาลในเลือดลดลงเนื่องจาก
การดูดซึม glucose จากทางเดินอาหาร
ลดระดับ glucose ในเลือด
ทำให้เซลล์กล้ามเนื้อและไขมันไวต่อ insulin มากขึ้น
เพิ่ม glycolysis ที่เนื้อเยื่อต่างๆ
ลดการหลั่ง glucose จากตับ
ข้อห้ามใช้
ไต
ขาดนํ้า
โรคทางเดินหายใจอุดกั้นรุนแรง
ผู้ติดเชื้อรุนแรง
ผู้ป่วยโรคหัวใจวาย
สตรีมีครรภ์
ผลข้างเคียง
ไม่สบายท้อง คลื่นไส้ อาเจียน อึดอัด แน่นท้อง
การใช้ยาระยะยาวอาจทำให้เกิดการขาด vitamin B12
lactic acidosis จะพบในผู้ป่วยที่มีภาวะขาดออกซิเจนหรือผู้ที่มีความบกพร่องทางไต
thiazolidinedione
เภสัชจลนศาสตร์
plasma protein binding สูง
ถูกขับออกทางไต
ถูกดูดซึมได้ดีในทางเดินทางอาหาร
การใช้ในทางคลินิก
รักษา type 2 diabetes โดยใช้เป็น second line ในการรักษาหรือใช้ร่วมกับ metformin,sulfonylurea หรือ insulin
กลไกการออกฤทธิ์
กระตุ้น peroxisome proliferator activeted receptor (PPR-y)
ผลข้างเคียง
นํ้าหนักตัวเพิ่ม
มีการคั่งของนํ้าในร่างกาย
พิษต่อตับ
ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน
diabetic ketoacidosis (DKA)
hyperglycemic
hyperosmolar state (HHS)
Islets of langerhands
ตับอ่อนส่วนไร้ท่อ
ประกอบ
D cell หรือเดลต้า
กระจายตัวทั่วไปใน islets (พบ3-5%)
ทำหน้าที่
สร้างฮอร์โมน somatostatin
F cell
กระจายอยู่ทั่วไปใน islets (1%)
ทำหน้าที่
สร้างฮอร์โมน penceatin polypeptide
(B) cell หรือเซลล์เบต้า
กระจายตัวอยู่ตรงกลาง islets (พบ 75%)
ทำหน้าที่
สร้างฮอร์โมน insulin และ amylin
G cell
ทำหน้าที่
การหลั่งฮอร์โมน qastrin
(A) cell หรือเซลล์แอลฟา
เรียงอยู่รอบนอกของ islets (20%)
ทำหน้าที่
สร้างฮอร์โมน glucagon
ฮอร์โมนสำคัญในการควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือด
insulin
ผลิตจาก B-cell ของ islets of langerhans
คอยควบคุมไม่ให้ระดับนํ้าตาลในเลือดสูงเกินไป
glucagon
ผลิต A-cell ของ islets of langerhans
คอยควบคุมไม่ให้ระดับนํ้าตาลในเลือดตํ่าเกินไป