Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา ท้องถิ่นสู่ห้องเรียนปฐมวัย, นางสาวณัฐธิดา พิมษร …
การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา
ท้องถิ่นสู่ห้องเรียนปฐมวัย
ก่อนการอบรม
ไม่รู้จากทรัพยากรท้องถิ่นอย่างลึกซึ้ง
ไม่รู้จักประเพณีและวัฒนธรรมบางส่วนของแต่ละภาคก่อนที่จะเข้าอบรม
ไม่รู้จักกระบวนการเขียนแผนของ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สายหยุด ภูปุย
ไม่รู้จักแนวทางของการศึกษาเกี่ยวกับการอนุรักษ์ท้องถิน
หลังการอบรม
การจัดทำหน่วยการเรียนสำหรับเด็กปฐมวัย
ขั้นที่ 4 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ขั้นที่ 5 ลำดับความสำคัญ
ขั้นที่ 6 เขียนแผนการจัดประสบการณ์
ขั้นที่ 2 ตัดสินใจเลือกประเภทการจัดประสบการณ์บูรณาการ
ขั้นทีที่ 8 ปรับปรุง แก้ไข
ขั้นที่ 1 ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัย
ขั้นที้ 7 ประเมินผล
ขั้นที่ 3 วิเคราะห์และกำหนดคุณลักษณะที่พึงประสงค์
รู้จักสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ประวัติความเป็นมา
ศิลปะวัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
การประกอบอาชีพ บุคคลสำคัญ
สภาพปัญหาในชุมชน
แหล่งท่องเที่ยว สภาพภูมิอากาศ
สภาพเศรษฐกิจและสังคม
รู้จักกระบวนการเขียนแผนของผู้ช่วยศาสตราจารยดร.สายหยุด ภูปุย สามารถนำไปแลกเปลี่ยนและติดตัวไปใช้ได้ตลอดชีวิตในอาชีพครู
รู้จักทรัพยากรท้องถิ่น ทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น
ทรัพยากรทางสังคม ทรัพยากรบุคคล
นางสาวณัฐธิดา พิมษร
6112721208 ห้อง 2
สาขาการศึกษาปฐมวัยชั้นปีที่ 4