Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หัวข้อ - Coggle Diagram
หัวข้อ
พระพุทธศาสนากับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน
5
พอประมาณอย่างมีเหตุผล
เสริมภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทันโลก
เน้นความสมดุล ยั่งยืน
เสริมสร้างคุณภาพคน
ยึดทางสายกลาง
ส่วนที่1-4
ส่วนที่2-3:ลงทุนประกอบกิจการต่างๆ
ส่วนที่4:ใช้ยามจำเป็น
ส่วนที่1:ใช้จ่ายเลี้ยงตน ครอบครัว บำเพ็ญคุณประโยชน์
หลักธรรม คือ สัปปุริสธรรม7
ความมีเหตุผล
ธัมมัญญุตา เป็นผู้รู้จักเหตุ
อัตถัญญุตา เป็นผู้รู้จักผล
ภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
ปริสัญญุตา เป็นผู้รู้จักบริษัท ชุมชน
บุคคลัญญุตา ผู้รู้จักบุคคล
กาลัญญุตา เป็นผู้รู้จักกาล
ความพอประมาณ
มัตตัญญุตา เป็นผู้รู้จักประมาณ
อัตตัญญุตา เป็นผู้รู้จักตน
พื้นที่ 100 ไร่
30:30:30:10(น้ำ:ทำนา:สวน:ที่อยู่อาศัย)
พระพุทธศาสนามุ่งฝึกตนไม่ให้ประมาท
ลักษณะของคนไม่ประมาท
ในกรณีกิจงานต้องทำ
คนประมาทคิดว่าเหนื่อยแล้วไม่ทำ ส่วนคนไม่ประมาทจะทำทันที เพราะเราไม่รู้อนาคตจะมีงานอีกไหม
ในกรณีงานเสร็จแล้ว
คนประมาทจะเลือกนอน ส่วนคนไม่ประมาทจะคิดทำงานที่มีต่ออีก ไม่เกียจค้าน
อัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาท(ดุจรอยเท้าช้าง ใหญ่ที่สุด)
คนไม่ประมาททำประโยชน์
ประโยชน์คนอื่น(ปรัตถะ)
ประโยชน์ส่วนรวมร่วมกัน(อุภยัตภะ)
ประโยชน์ตน(อัตตัตถะ)
พระพุทธศาสนาเป็นศาสตร์แห่งการศึกษาเน้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยและวิธีการแก้ไขปัญหา
ศาสตร์แห่งการศึกษา
บุรพภาคของการศึกษา
องค์ประกอบภายนอก(ปรโตโมสะ)
ข้อมูลดิบ อาศัยการเรียนรู้จากผู้อื่น
องค์ประกอบภายใน(โยนิโสมนสิการ)
การใช้เหตุผล แยกแยะเหตุปัจจัย พิจารณา แยกแยะ รอบคอบ มีสัมมาทิฏฐิ
ไตรสิกขา(ศีล สมาธิ ปัญญา)
การฝึกฝนอบรมในด้านความประพฤติ “อธิศีลสิกขา”
การฝึกฝนอบรมในด้านจิตใจ “อธิจิตตสิกขา”
การฝึกฝนอบรมในด้านปัญญา “อธิปัญญาสิกขา”
การพัฒนาตนให้งอกงาม
พัฒนาศีล
ควบคุมวาจา กาย
พัฒนาจิตใจ
ความดีงาม เมตตา
แข็งแกร่ง มีวิริยะ(เพียร) ขันติ(อดทน) สมาธิ(ตั้งจิต) สัจจะ
ความสุข ร่าเริง
พัฒนากาย
รักษาสุขภาพ
พัฒนาปัญญา
เพิ่มความรู้แก่ตัวเอง
คำว่า “สิกขา” หมายความว่า การฝึกอบรมให้งอกงาม
เน้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยและวิธีการแก้ไขปัญหา
เน้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัย
หลักปฏิจจสมุปบาท
สิ่งทั้งปวงย่อมเกิดจากสาเหตุ
ทำให้เป็นคนมีใจกว้าง
ทำให้เป็นคนไม่ยึดมั่นถือมั่น
ทำให้เป็นคนสายตากว้างไกล
ทำให้แก้ปัญหาได้
ทำให้คนมีเหตุผล
วิธีแก้ปัญหาตามแนวพระพุทธศาสนา
อริยสัจ4
สมุทัย:สาเหตุ
นิโรธ:ภาวะหมดปัญหา
ทุกข์:ปัญหา
มรรค:แนวทางแก้ปัญหา
องค์ประกอบแก้ปัญหา
กรรม(การลงมือกระทำ)
รู้เป้าหมาย การลงมือทำ เรียกว่า หลักกรรม
วิริยะ(ความพากเพียร)
ความต่อเนื่อง
ปัญญา(ความรู้ความเข้าใจ)
รู้ว่าปัญหาคืออะไร แก้ยังไง
ความสำคัญของพระพุทธศาสนากับการศึกษาที่สมบูรณ์
มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐด้วยการศึกษา
มนุษย์เป็นสัตว์ที่ต้องฝึก
การดำเนินชีวิตอยู่ได้ มีความเป็นอยู่ที่ดีได้นั้น แทบไม่มีอะไรเลยที่มนุษย์จะได้มาเปล่า ๆแต่ได้มาด้วยการศึกษาคือเรียนรู้ฝึกหัดพัฒนาขึ้นมาทั้งสิ้น
มนุษย์เป็นสัตว์ที่ฝึกได้
การที่เรียนรู้ฝึกหัดพัฒนาได้นี้ เป็นความพิเศษของมนุษย์ เมื่อมนุษย์พัฒนาได้สูงสุด จึงถือเป็นผู้ประเสริฐ
หลักธรรมพื้นฐานของพระพุทธศาสนากับการศึกษาที่สมบูรณ์
หลักพุทธธรรมที่เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาปัญหา
อริยสัจ 4
ปฏิจจสมุปบาท
หลักพุทธธรรมเชิงปฏิบัติการ เสริมในรายละเอียด
ในฐานะทบทวนแผนตามความเป็นจริงที่ปรากฏออกมาจากการตรวจสอบด้วยหลักอริยสัจ 4
ปฏิจจสมุปบาท