Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขภาพ 6 ด้าน
จากวิจัยเรื่อง : การรับรู้ความเสี่ยงต่อการเกิดโร…
การส่งเสริมสุขภาพ 6 ด้าน
จากวิจัยเรื่อง : การรับรู้ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตามเกณฑ์และวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพในญาติสายตรงลำดับแรกของผู้ที่เป็นเบาหวาน
การพัฒนาทางจิตวิญญาณ
พฤติกรรมการดูแลตนเองและความสามารถในการควบคุมความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองโพธาวาส
ผลการศึกษา ด้านการจัดการกับความเครียดพบว่าร้อยละ 63.40, 58.80 และ 56.70 เมื่อมีเรื่องไม่สบายใจจะปรึกษากับผู้ใกล้ชิดเมื่อเกิดความโกรธหงุดหงิดสามารถควบคุมอารมณ์ได้และเมื่อเกิความเครียดมีการผ่อนคลายด้วยวิธีการต่างๆนาน ๆ ครั้งตามลำดับ
ความรับผิดชอบต่อสุขภาพ
-
พฤติกรรมการดูแลตนเองและความสามารถในการควบคุมความดันโลหิต ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ชนิดไม่ทราบสาเหตุ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองโพธาวาส
ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงพบว่าโดยรวมร้อยละ 49.50 มีพฤติกรรมการดูแลตนเองในระดับปานกลางรองลงมาร้อยละ 47.40 และ 3.10 มีพฤติกรรมการดูแลตนเองในระดับดีและต่ำเมื่อพิจารณาพฤติกรรมการดูแลตนเองรายด้านพบว่าร้อยละ 89.70, 57.70 และ 54.10 มีพฤติกรรมด้านการรับประทานยาด้านการออกกำลังกายและด้านการควบคุมปัจจัยเสี่ยงอยู่ในระดับดีส่วนด้านการรับประทานอาหารและด้านการจัดการกับความเครียดพบว่าส่วนใหญ่ร้อยละ 71.60 และ 58.80 อยู่ในระดับปานกลางสำหรับด้านการตรวจสุขภาพพบว่าร้อยละ 47.50 อยู่ในระดับต่ำรองลงมาร้อยละ 34.50 และ 18.00 อยู่ในระดับดีและปานกลางตามลำดับ
โภชนาการ
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สถานีอนามัยแห่งหนึ่ง ในตำบลบางเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
ผลการวิจัยพบว่า อยู่ในระดับปานกลาง เช่น การรับประทานอาหารเครื่องดื่ม ท่ีมีรสหวาน อาหารรสเค็ม อาหารไขมัน การออกกาลัง กาย เป็นต้น และยังมีกลุ่มผู้ป่วยส่วนหน่ึงที่มีพฤติกรรม รายด้านอยู่ในระดับปานกลางและไม่ดี เช่น ด้านควบคุม อาหาร อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 24.8
รูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในบุคลากรที่มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ โรงพยาบาล ค่ายวีรวัฒน์โยธิน จังหวัดสุรินทร์
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
ผลการวิจัยพบว่าความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองกับการรับรู้ภาวะสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยพบว่า ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ที่กลุ่มตัวอย่างมีไม่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับพฤติกรรมการดำเนินกิจวัตรประจำวันได้เนื่องมาจากกลุ่มตัวอย่างมีความเคยชินกับกิจวัตรประจำวันมากเกินไป จึงไม่สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนเองได้ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลในการดูแลสุขภาพของตนเองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองแต่อย่างใด และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันเนื่องจากการมีกิจวัตรประจำวันที่คล้ายคลึงกัน
การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนบนวิถีวัฒนธรรมภูมิปัญญา (Self-Care of Diabetic Patients in the Community on the Culture of Wisdom)
ผลการวิจัยพบว่า
1) ด้านความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน ผู้ให้ข้อมูลอธิบายว่าความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้มีการดูแลตนเองที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ โดยผู้ให้ข้อมูลมีกาประยุกต์ใช้ความรู้ในเรื่องการรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับโรค การออกกำลังกาย การรับประทานยา และการปรับแบบแผนการดำเนินชีวิตของตนเองในการดูแลสุขภาพ
2) ด้านการรับรู้ภาวะสุขภาพตนเองในปัจจุบัน ด้านร่างกาย ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่สามารถควบคุมระดับนํ้าตาลได้ ด้านจิตใจ ยอมรับต่อการป่วยเป็นโรคเบาหวาน ซึ่งเป็นโรคที่รักษาไม่หายขาด ต้องมีการรักษาและดูแลตนเองที่ดีอย่างต่อเนื่อง
3) ด้านการดูแลตนเอง ผู้ให้ข้อมูลเน้นการควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย ปรับวิธีรับประทานยา ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต และประยุกต์ใช้วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยใช้การนวดแผนไทย การออกกำลังกายแบบโนราบิค เป็นการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และป้องกันข้อติด การใช้สมุนไพร ได้แก่ มะระขี้นก ใบเตยหอม ยอดตำลึง ว่านหางจระเข้และใบกระเพรา มาทดลองใช้ ทำให้ระดับนํ้าตาลในเลือดคงที่
-
พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบลนางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
จากผลการวิจัย พบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมด้านการใช้ผงชูรส ผงปรุงรสในการปรุงอาหาร และการรับประทานอาหารที่มีส่วนประกอบของกะทิ ซึ่งส่งผลต่อโรคความดันโลหิตสูงควรให้คำแนะนำเพิ่มเติมเพื่อให้ผู้ป่วยและญาติ เกิดความตระหนักถึงผลเสียของผงชูรสผงปรุงรสอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ พร้อมทั้งประเมินผลเพื่อดูความก้าวหน้าในการปฏิบัติตนของผู้ป่วยในแต่ละครั้ง โดยเจาะจงรายบุคคลเพื่อที่จะได้ทราบปัญหา และหาแนวทางแก้ไขเป็นรายบุคคลตามสภาพปัญหาที่พบ
ผลของโปรแกรมการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้านโดยประยุกต์ทฤษฎี ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและแรงสนับสนุนทางสังคม ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลอ่างทอง
ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการ ควบคุมอาหารและการออกกาลังกายสูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ (p < .001) แสดงให้เห็นว่า การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามความสมัครใจ โดยการควบคุมอาหาร การออกกาลังกาย การควบคุมอารมณ์ ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มสุรา ทาให้ผู้ป่วยความดัน โลหิตสูงมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสมมากขึ้น ซึ่งส่งผลดีต่อสภาวะสุขภาพของผู้ป่วย
พฤติกรรมการดูแลตนเองและความสามารถในการควบคุมความดันโลหิต ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ชนิดไม่ทราบสาเหตุ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองโพธาวาส
ผลการวิจัย ด้านการรับประทานอาหารพบว่าส่วนใหญ่ร้อยละ 80.40 และ 73.70 มีการรับประทานผักและผลไม้และรับประทานอาหาร แต่พออิ่มเป็นประจำทั้งนี้มีการรับประทานอาหารที่มีไขมันสูงและอาหารเค็มนาน ๆ ครั้งร้อยละ 83.50 และ 69.60 ตามลำดับ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบลนางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนต่างกัน มีพฤติกรรมการดูแลตนเอง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ประวัติการเจ็บป่วยของคนในครอบครัว ระยะเวลาที่ทราบว่าป่วย และระดับการศึกษาต่างกัน มีพฤติกรรมการดูแลตนเองไม่แตกต่าง
การจัดการกับความเครียด
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สถานีอนามัยแห่งหนึ่ง ในตำบลบางเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
ผลการวิจัย พบว่า ด้านการจัดการความเครียด อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 17.1, ระดับไม่ดี ร้อยละ 5.2
พฤติกรรมการดูแลตนเองและความสามารถในการควบคุมความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองโพธาวา
ผลการศึกษา ด้านการจัดการกับความเครียดพบว่าร้อยละ 63.40, 58.80 และ 56.70 เมื่อมีเรื่องไม่สบายใจจะปรึกษากับผู้ใกล้ชิดเมื่อเกิดความโกรธหงุดหงิดสามารถควบคุมอารมณ์ได้และเมื่อเกิความเครียดมีการผ่อนคลายด้วยวิธีการต่างๆนาน ๆ ครั้งตามลำดับ
การออกกำลังกาย
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สถานีอนามัยแห่งหนึ่ง ในตำบลบางเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างอออกกาลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 5-7 คร้ัง และออกกำลังกายอย่างน้อย 15-30 นาที มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง อยละ 29.5, อยู่ในระดับ ไม่ดี ร้อยละ 6.7
รูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในบุคลากรที่มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ โรงพยาบาล ค่ายวีรวัฒน์โยธิน จังหวัดสุรินทร์
ผลการวิจัยนี้เป็นการศึกษารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการลดระดับไขมันในเลือดของบุคลากรที่มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น 44 คน พบว่า หลังการดำเนินงานบุคลากรมีความรู้เกี่ยวกับภาวะไขมันในเลือด ความคาดหวังในความสามารถของตนเอง การปฏิบัติตัวในการลดไขมันในเลือด เพิ่มขึ้นกว่าก่อนดำเนินงาน และมีระดับคอเลสเตอรอลและระดับไตรกลีเซอไรด์ลดลงกว่าก่อนการดำเนินงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยสรุป รูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการลดระดับไขมันในเลือด โดยประยุกต์ใช้แนวคิดการกำกับตนเองสามารถทำให้บุคลากรที่มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้นและมีระดับไขมันในเลือดลดลง
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
ผลการวิจัย พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองกับการรับรู้ภาวะสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยพบว่า ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ที่กลุ่มตัวอย่างมีไม่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับพฤติกรรมการดำเนินกิจวัตรประจำวันได้เนื่องมาจากกลุ่มตัวอย่างมีความเคยชินกับกิจวัตรประจำวันมากเกินไป จึงไม่สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนเองได้ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลในการดูแลสุขภาพของตนเองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองแต่อย่างใด และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันเนื่องจากการมีกิจวัตรประจำวันที่คล้ายคลึงกัน
พฤติกรรมการดูแลตนเองและความสามารถในการควบคุมความดันโลหิต ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ชนิดไม่ทราบสาเหตุ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองโพธาวาส
ผลการวิจัย ด้านการออกกำลังกาย พบว่าส่วนใหญ่ร้อยละ 59.30 และ 60.30 มีพฤติกรรมการออกกำลังกายมากกว่า 3 ครั้งสัปดาห์และในแต่ละครั้งนานอย่างน้อย 30 นาทีเป็นประจำตามลำดับ
-
ผลการวิจัย : การการสอบถามประชากร 2 กลุ่ม คือกลุ่มญาติสายตรงของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานกับกลุ่มประชาชนทั่วไปที่ไม่มีบุคคลในครอบครัวเป็นโรคเบาหวานพบว่า ในด้านการรับรู้ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างทั้งสองมีคะแนนการรับรู้ความเสี่ยงไม่แตกต่างกัน ซึ่งอาจเนื่องมาจากการได้รับข้อมูลข่าวสารดีทั้งสองกลุ่ม ในด้านความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานตามเกณฑ์พบว่ากลุ่มที่มีญาติสายตรงเป็นโรคเบาหวานมีความเสี่ยงมากกว่ากลุ่มประชาชนทั่วไปซึ่งไม่เคยมีประวัติญาติสายตรงในครอบครัวเป็นโรคเบาหวานแสดงว่าปัจจัยด้านพันธุกรรมยังคงแสดงอิทธิพลอย่างมากและไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้