Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญาลัทธิ ปฏิบัตินิยมเชื่อมโยงปรัชญาการศึกษา,…
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญาลัทธิ
ปฏิบัตินิยมเชื่อมโยงปรัชญาการศึกษา
พรบ.การศึกษาเชื่อมโยง
พิพัฒนาการนิยม
วิเคราะห์พระราชบัญญัติ ที่สอดคล้องกับการศึกษา
พิพัฒนาการนิยม
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544 และ 2551
แนวการจัดการเรียนรู้
ช่วงที่3
จัดการเรียนรู้แบบโครงงาน
ช่วงที่4
เน้นเข้าสู้เฉพาะทางมากขึ้น
ช่วงที่2
การสอนแบบบูรณาการ
ช่วงที่1
เน้นการเรียนรู้ตามสภาพจริง
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
(ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2553
(ฉบับที่ 4) พุทธศักราช 2562
(ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545
ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม
ความเป็นมา
ผู้ให้กำเนิด ชาร์ลส์ เพิร์ซ
ผู้ทำให้เป็นที่รู้จัก จอห์น ดิวอี้
พัฒนาการมาจากปรัชญาสัจนิยมเชิงธรรมชาติ
.
นักปรัชญา
.
วิลเลี่ยม เจมส์
ยืนยันความคิดของเพิร์ซ ว่าใช้ได้ผล
นักปฏิบัตินิยมที่แท้จริง
.
ลัทธิปฏิบัตินิยมในแง่ของสาขาปรัชญา
.
ญาณวิทยา
ความรู้เกิดได้จากการลงมือปฏิบัติ
.
คุณวิทยา
จริยศาสตร์
เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา และสามารถเปลี่ยนแปลงได้
.
สุนทรียศาสตร์
1 more item...
อภิปรัชญา
ความจริงเป็นโลกแห่งประสบการณ์
สิ่งใดที่สามารถให้ได้รับประสบการณ์ สิ่งนั้นคือความจริง
ชาร์ลส์ เพิร์ซ
ผู้ให้กำเนิดปรัชญาปฏิบัตินิยม
ผู้สร้างทฤฎีความสงสัยและความเชื่อ
แนวคิดและหลักการ
การกระทำ คิด และรู้สึก การใคร่ครวญและลงมือกระทำก่อให้เกืดการเปลี่ยนแปลง
ความจริงหรือประสบการณ์สามารถเปลี่ยนแปลงได้
สนใจโลกของประสบการณ์
.
การนำแนวคิดปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยมมาประยุกต์ใช้กับการศึกษา
.
.
หลักสูตรเป็นมวลประสบการณ์
เป็นการเสริมส้รางประสบการณ์ทางสังคม/ชีวิต
เน้นบูรณาการความรู้ ชีวิต สังคมที่เด็กจะได้รับไปด้วยกัน
วิชาที่ได้รับการเน้นพิเศษ คือ สังคมศึกษา
.
.
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอน
สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Child Center)
เรียนโดยวิธีแก้ปัญหา (Problem Solving)
.
ลักษณะการเรียนการสอน
.
เรียนโดยการแก้ปัญหา
2 more items...
เรียนโดยอภิปรายถงเถียง
สอนผ่านกิจกรรม
จุดมุ่งหมาย
ผู้เรียนพร้อมที่จะแก้ปัญหาด้วยตนเอง
ช่วยเสริมสร้างให้เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์
.
.
.
แนวคิดด้านโรงเรียน
สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้เรียนเกิดประสบการณ์
ทำหน้าที่เป็นแบบจำลังสังคม
จัดห้องเรียนที่หลากหลาย
ส่งเสริมให้เด็กได้ทำการทดลอง
ส่งเด็กไปฝึกตามสถานที่จริง
.
แนวคิดด้านครูผู้สอน
ครูต้องมีความรู้และประสบการณ์กว้างขวาง
รู้จักผู้เรียนและยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล
เป็นผู้แนะแนวทางแก่ผู้เรียน
.
แนวคิดด้านผู้เรียน
ประสบการณ์ได้มาการการลงมือปฏิบัติ(Learning by doing)
โดยธรรมชาติผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ผู้เรียนมีอิสระในการตัดสินใจและต้องทำงานร่วมกัน
.
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
.
นักปรัชญา
.
ฌอง รุสโซ
เด็กเปรียบเสมือนผ้าขาว
การให้การศึกษาแก่เด็กต้องทำความเข้าใจธรรมชาติของเด็กเสียก่อน
ชาร์ล ดาวิน
แนวคิดความอยู่รอดอย่างเหมาะสม
.
.
มุ่งเน้นจัดหลักสูตรบูรณาการ
เด็กควรพัฒนาร่างกาย สิติปัญญา และจิตใจ
.
.
บิดาของปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
เสนอให้ปฏิรูประบบการศึกษาแบบใหม่
.
.
.
ผู้นำของแนวคิดแบบก้าวหน้า
Learning by doing
.
ความหมายและแนวคิดพื้นฐาน
พัฒนาการเรียนรู้ไปเรื่อย ๆ ในการหาความรู้
เพื่อต่อต้านแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษา ที่มักท่องจำเนื้อหา
พิพัฒน หมายถึง ก้าวหน้า เปลี่ยนแปลง ไปตามกาลเวลา
.
.
พัฒนาผู้เรียนด้านอารณ์ สังคม และสติปัญญา
รู้จักปรับตนเองเขากับสังคม
ผู้เรียนได้เรียนตามความถนัด
ส่งเสริมประชาธิปไตย
ผู้เรียนรู้จเักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
ผู้เรียนมีประสบการณ์ในการดำรงชีวิต
.
.
หลักสูตร
หลักสูตรแบบประสบการณ์หรือหลักสูตรแบบกิจกรรม
เน้นการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
เน้นวิชาที่เสริมสร้างประสบการณ์ที่สัมพันธ์กับสังคม
.
.
ทำหน้าที่ให้คำปรึกษา
แนะแนวทางให้กับผู้เรียน
.
.
สอนแบบ “แก้ปัญหา“
ทดลองแก้ปัญหาด้วยตนเอง
เห็นความสำคัญของงานที่มีต่อตนเอง ต่อสังคม
.
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การเรียนรู้จะเกิดขึ้นจากลงมือกระทำด้วยตนเอง
ผู้เรียนมีอิสระที่จะเลือกตัดสินใจด้วยตนเอง
ตัวอย่างปรัชญา
พิพัฒนาการนิยม
ตัวอย่างการนำปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
ไปใช้ในสถานศึกษา
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ผู้เรียน
ได้ประสบการณ์ด้วยการลงมือทำ
หลักสูตร
พัฒนาความสามารถของผู้เรียน
ความสามารถในการสื่อสาร
คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์
แก้ปัญหา
ทักษะชีวิต
เทคโนโลยี
ผู้สอน
แนะแนวทาง
วิธีการสอน
ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้
แสดงความคิดเห็น
สถาบันการศึกษา
จัดแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
แหล่งเรียนรู้ภายใน
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
พืชสมุนไพร
พรรณไม้น้ำ
ต้นไม้ธรรมชาติ
ห้องพิพิธภัณฑ์ หินแร่
ห้องสมุดกลาง
ห้องศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ห้องสมุดกลุ่มสาระ
ห้องพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา
แหล่งเรียนรู้จากชุมชน
โบราณสถาน
โรงพยาบาล
พระบรมมหาราชวัง
สถานรับเลี้ยงเด็ก
บ้านพักคนชรา
การวัดและประเมินผล
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนสื่อความ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่ม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
โรงเรียนสวนกุหลาบ
ผู้เรียน
มีอิสระในการเลือกและตัดสินใจ
หลักสูตร
ความเป็นเลิศทางวิชาการ
ความสามัคคีในหมู่คณะ
การเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม
มีส่วนร่วมในการศึกษาชุมชน
ทักษะชีวิต
เทคโนโลยี
ผู้สอน
แนะแนวทาง
วิธีการสอน
เน้นการปฏิบัติจริง
ศึกษา ค้นคว้า สร้างองค์ความรู้
ทักษะจากในและนอกห้องเรียน
ผู้บริหาร
การวัดและประเมินผล
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนสื่อความ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่ม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
สถานศึกษา
จัดแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน
หออัครศิลปิน
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี คลองหก
แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
ห้องสมุดครบวงจร
หนังสือ
เทป VCD DVD
คอมพิวเตอร์
โรงภาพยนตร์
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตร
โจฮันน์ เปสตาลอสซี่
ฟรานซีส ปาร์คเกอร์
จอห์น ดิวอี้
จุดมุ่งหมายการศึกษา
องค์ประกอบการศึกษา
ผู้สอน
วิธีสอน
ผู้เรียน
นายกิตติกร วัดระดม
สาขานวัตกรรมการบริหารการศึกษา