Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การประเมินภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
บทที่ 4
การประเมินภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ
สุขภาพ
หมายถึง สุขภาวะที่สมบูรณ์ทางกายทางจิตทางสังคม
ทางจิตวิญญาณ (WHO.1996) หมายถึง ผู้สูงอายุที่สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขมีความพึงพอใจในชีวิตมีชีวิตอย่างมีคุณภาพสามารถปฏิบัติภารกิจตามบทบาทหน้าที่ได้ถูกต้องเหมาะสม
การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
เป็นขั้นตอนเบื้องต้นของกระบวนการพยาบาล (nursing process) ช่วยให้พยาบาลได้ข้อมูลในการวางแพนทารพยาบาล (planing) นำไปสู่การเลือกปฏิบัติการพยาบาล (implementation) ที่เหมาะสมทั้งในบทบาทส่งเสริมป้องกันรักษาและฟื้นฟูสุขอภาพแก่ผู้สูงอายุในการประเมินพยาบาลต้องมีความรู้เกี่ยวกับกระบวนการสูงอายุ (aging process) เช่นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามวัยทั้งด้านร่างกายจิตใจสังคมซึ่งส่งพลต่อสุพภาพสูงอายุ
การประเมินภาวะสุขภาพสูงอายุ
แบ่งเป็น 5 ประการ ดังนี้
การประเมินสุขภาพทางกาย
(Physical Assessment)
ตรวจร่างกาย (Physical examination)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Lab test)
ลักษณะที่ปรากฏ (Appearance)
ประวัติสุขภาพ (Health history) ประกอบด้วยข้อมูลทั่วไปอาการสำคัญประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบันในอดีตภาวะโภชนาการการใช้ยา / ความร่วมมือในการใช้ยา
อาการสำคัญ
การประเมินอาการสำคัญของผู้สูงอายุนั้นนอกจากอาการที่เป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้มาร. พ. ภายใน 1 ชม. ตามการรับรู้ของญาติและผส. ควรให้ความสนใจกับอาการอื่น ๆ ที่พบได้บ่อยในผส. ด้วย
อาการสำคัญของผส. อาจแตกต่างจากคนอายุน้อยอาการนำในผส. อาจไม่ชี้นำการเจ็บป่วยที่แท้จริง
อาการที่แสดงอาจแปลก ๆ ไม่ตรงไปตรงมาและไม่มีอาการเด่นของโรคปรากฏเช่นคนวัยอื่นบางครั้งไม่อาจระบุเวลาได้
อาการสำคัญอาจถูกละเลยเช่นอาการสับสนปัสสาวะราดรับประทานอาหารไม่ได้
จุดสำคัญในการทบทวนประวัติตามระบบ
(review of system)
สอบถามน. น. ตัวที่ลดลงในรอบ 6 เดือนการเปลี่ยนแปลงการรับประทานอาหารเช่นเบื่ออาหารอาเจียนปัญหาฟัน
การขับถ่ายผิดปกติ
อาการผิดปกติทางสมองเช่นหลงลืมคิดช้าคิดคำพูดไม่ออก
สอบถามการมองเห็นการได้ยินการมีภาวะหกล้มความผิดปกติของท่าเดิน
การตรวจร่างกายผู้สูงอายุ
ความสูง น.น. วัดความสูงแบบ arm span คำนวณ BMI
วัดอุณหภูมิกายความดันโลหิตการหายใจที่เร็วอาจบ่งชี้การติดเชื้อ
การตรวจตา ความคมชัด ลานสายตา
การตรวจหู การได้ยิน ช่องหู
ตรวจทรวงอกและปอดความผิดรูปของทรวงอก กระดูกสันหลัง
การตรวจหัวใจ อาจพบ Systolic murmur (ปกติ) แต่การพบ diastolic murmur หรือ s3 gallop ถือว่ามีความผิดปกติ
การประเมินสุขภาพทางจิต (Psychological Health Assessment)
ประเมินอัตมโนทัศน์ / สภาวะทางอารมณ์ / ความจำ / การรับรู้เวลาสถานที่บุคคล / ความรู้สึก / การรับรู้ / กระบวนการคิด / ความเข้าใจ / การตัดสินใจ / แบบแผนในการเผชิญปัญหา / ความตั้งใจสมาธิ / การปรับตัวแบบแผนการติดต่อสื่อสาร / แบบแผนการมีปฏิกิริยาสัมพันธ์
ประเมินปัญหาสุขภาพจิตที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ ได้แก่ ภาวะซึมเศร้า (Depression) เชาว์ปัญญา (Cognitive function)
การประเมินภาวะซึมเศร้า
เครื่องมือประเมิน
Geriatric depression scale (GDS)
Beck depression inventory (BDI)
Thai geriatric depression scale (TGDS)
การประเมินเธาว์ปัญญา
เครื่องมือประเมิน
Mini-Mental State Exame (MMSE)
Thai-Minimental State Exame (TMSE)
Clock Drawing Test (CDT) Chula
Mental Test (CMT)
การประเมินความสามารถเชิงปฏิบัติ (Functional Assessment)
เป็นการประเมินคูความสามารถในการพึ่งพาตนเองในการดูแลตนเองเบื้องต้น
เครื่องมือที่ใช้ประเมิน
Barthel ADL Index (ADL)
Instrument activities of daily living scale (IADL)
Katz activities of daily living scale
Instrument activities of daily living scale (IADL)
Direct assessment of function Status scale (DAFS)
การประเมินสิ่งแวดล้อม
(Environmental Assessment)
ที่อยู่อาศัยเป็นสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพผู้สูงอายุทั้งทางกายและใจสภาพบ้านที่ไม่เหมาะสมนำไปสู่ภาวะหกล้มในผู้สูงอายุเครื่องมือที่ใช้ประเมิน "Home safety checklist"
การประเมินทางสังคม
(Social Assessment)
หัวข้อที่ใช้ประเมิน
สัมพันธภาพในครอบครัว (family relationship) ลักษณะครอบครัว (family relationship)
เศรษฐานะ (economic structor)
สายสัมพันธ์ทางสังคม (social network)
ความเชื่อทางศาสนา สิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ ระดับการศึกษา พฤติกรรมความเชื่อทางสุขภาพง
ตัวอย่างคำถามเครือข่ายทางสังคม
“ บุคคลที่อาศัยอยู่ในบ้านเดียวกับผู้สูงอายุ“ โดยปกติใครเป็นผู้ดูแลบ้าน "
“ ใครเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในกรณีที่เจ็บป่วย /ทุพพลภาพ"
“ ถ้ามีผู้ดูแลผู้ดูแลทำงานนอกบ้านหรือไม่ "
แบบแผนสุขภาพ กอร์ดอน
แบบแผนสุขภาพ หมายถึง แบบแผนพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งซึ่งจะมีผลต่อสุขภาพของผู้รับบริการ
พยาบาลมีหน้าที่ในการป้องกันแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นในแบบแผนที่ผิดปกติให้แต่ละแบบแผนมีความถูกต้องสมบูรณ์
องค์ประกอบของแบบแผนสุขภาพ
แบบแผนการรับรู้เกี่ยวกับสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญอาหาร
แบบแผนการขับถ่าย
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
แบบแผนการพักผ่อนและการนอนหลับ
แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้
แบบแผนการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ
แบบแผนเพศและการเจริญพันธุ์
แบบแผนการปรับตัวและความทนทานต่อความเครียด
แบบแผนค่านิยมและความเชื่อ
ตัวอย่างข้อมูลแบบแผนสุขภาพ
แบบแผนการขับถ่ายอุจจาระอุจจาระ 2-3 ครั้งต่อวันลักษณะอุจจาระเป็นก้อนแข็งไม่เคยใช้ยาระบาย แต่ขณะอยู่ร. พ. ยังไม่ถ่ายอุจจาระ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะปัสสาวะกะปริบกะปรอย 5-6 ครั้งต่อวันไม่มีอาการปัสสาวะแสบขัดลักษณะสีปัสสาวะเหลืองเข้มไม่มีตะกอน
แบบแผนการออกกำลังกายเดินเล่นรอบ ๆ บ้าน แต่ทำไม่ได้เมื่อเริ่มเจ็บป่วยและมีอาการหอบ
แบบแผนการพักผ่อนและนอนหลับเวลาเข้านอน 22.00-05.30 นลักษณะการนอนหลับนอนหลับๆตื่น ๆ ปัญหาในการนอนหลับนอนไม่ค่อยหลับจะมีเหนื่อยเป็นประจ
ปัญหาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ภาวะหกล้ม (falling)
ภาวะเคลื่อนที่ไม่ได้ (immobility)
ภาวะกลั้นปัสสาวะอุจจาระไม่ได้ (incontinence)
ภาวะซึมเศร้า (depression)
ภาวะนอนไม่หลับ (insomia)
ความผิดปกติของการมองเห็น / ได้ยิน (impairment of vision and hearing)
ยักษ์ในผู้สูงอายุ (Geriatric Giants)
ภาวะสับสน (confuse)
ภาวะเคลื่อนที่ไม่ได้ (immobility)
ภาวะกลั้นปัสสาวะอุจจาระไม่ได้ (incontinence)
ผลข้างเคียงจากการรักษา (iatrogenic disorder))