Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม, ดาวน์โหลด, 5f058536e4027b4d34249a89…
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ
อีแวน พาโตรวิช พาฟลอฟ
นักสรีรวิทยา ชาวรัสเซีย
ได้รับรางวัลโนเบลจากการวิจัย เรื่องสรีรวิทยาการย่อยอาหาร
สนใจด้านจิตเวช
คำศัพท์ที่สำคัญในการทดลอง
สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข(เสียงกระดิ่ง)
การตอบสนองที่ไม่ได้ถูกวางเงื่อนไข
สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข(อาหาร)
การตอบสนองที่ถูกวางเงื่อนไข
สิ่งเร้าที่เป็นกลาง(เสียงกระดิ่ง) :
การทดลอง
ขณะวางเงื่อนไข
สั่นกระดิ่ง + ผงเนื้อ : น้ำลายไหล
หลังวางเงื่อนไข
สั่นกระดิ่ง : น้ำลายไหล
ก่อนวางเงื่อนไข
สั่นกระดิ่ง : ไม่ตอบนอง
ผงเนื้อ : น้ำลายไหล
การประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอน
ใช้วิธีเสนอสิ่งที่จะ
สอนไปพร้อมๆ กับสิ่งเร้า
นำเรื่องที่เคยสอนไปแล้วมาสอนใหม่
นำความต้องการทางธรรมชาติของผู้เรียนมาใช้เป็นสิ่งเร้า
จัดกิจกรรมการเรียนให้ต่อเนื่องและมีลักษณะคล้ายคลึงกัน
ใช้สิ่งเร้าหลายแบบในการสอน
เสนอสิ่งเร้าที่ชัดเจนในการสอน
การนำทฤษฎีมาพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
สื่อที่กระตุ้นให้ผู้เรียนอยากเรียน มีสิ่งที่น่าสนใจ ที่ผู้เรียนชอบ
การ์ตูนแอนิเมชั่นเกี่ยวกับเลข
เกมคณิตศาสตร์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน
จอห์น บี วัตสัน
นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน
บิดาของจิตวิทยาพฤติกรรมนิยม
บิดาแห่งการบำบัด
กฎการเรียนรู้
พฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดได้
เมื่อทำให้เกิดพฤติกรรมใดๆได้
ก็สามารถลดพฤติกรรมนั้นได้
การลบพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม สามารถหาสิ่งเร้ามาช่วยได้
การสร้างพฤติกรรมควรพิจารณาสิ่งเร้าที่เหมาะสม
การทดลอง
หนูขาวกับทารก
การนำทฤษฎีมาพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
สื่อที่น่าสนใจและตอบสนองสิ่งเร้าตามธรรมชาติของผู้เรียน
เพลงหรือเกมเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
การ์ตูนคณิตศาสตร์
ทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
กฎการทดลอง
กฎแห่งความพร้อม
กฎแห่งการฝึกหัด
กฎแห่งการใช้
กฎแห่งผลที่พึงพอใจ
การประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอน
สำรวจความพร้อมหรือสร้างความพร้อมของผู้เรียน
ให้สิ่งเร้าหรือรางวัลเพื่อให้ผู้เรียนพอใจ
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนแบบลองผิดลองถูก
เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดค์
บิดาแห่งจิตวิทยาการศึกษา
การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
นักการศึกษา ชาวอเมริกัน
S-R Model
การเสริมแรง (reinforcement)
การนำทฤษฎีมาพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
สื่อที่ให้ผู้เรียนได้ฝึก
เกมการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ออนไลน์
สื่อที่เป็นการเตรียมความพร้อมก่อนเรียน
เพลงคณิต
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ
โอเปอร์แรนต์ (สกินเนอร์)
กฎการเรียนรู้
การเสริมแรงที่ไม่แน่นอนทำให้การตอบสนองคงทนมากกว่าการเสริมแรงที่แน่นอน
การลงโทษทำให้เรียนรู้เร็วและลืมเร็ว
การกระทำใดๆ ถ้าได้รับการเสริมแรงจะมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นอีก
การให้แรงเสริมกับพฤติกรรมที่ต้องการช่วยปรับหรือปลูกฝังนิสัยที่ต้องการได้
การนำไปใช้
การเสริมแรงจะช่วยเพิ่มอัตราการตอบสนอง
การเปลี่ยนรูปแบบการเสริมแรงจะช่วยให้การตอบสนองของผู้เรียนคงทนถาวร
การลงโทษที่รุนแรงอาจทำให้ผู้เรียนไม่เรียนรู้หรือ
จำในสิ่งที่เรียนไม่ได้
หากต้องการปลูกฝังนิสัย ให้แยกปฏิกิริยาตอบสนองออกเป็นลำดับขั้นตอน
เบอร์ฮัส เอฟ สกินเนอร์
เจ้าของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
มีแนวคิดค้านกับพาฟลอฟและวัตสัน
นักจิตวิทยาและนักการศึกษาชาวอเมริกัน
พฤติกรรมโอเปอร์แรนต์หรือแบบการกระทำ
การเสริมแรงทางบวก
การชมเชย
การให้รางวัล
การเสริมแรงทางลบ
การตำหนิ
การลงโทษ
ผู้ค้นคิด
skinner box
teaching machine
การนำทฤษฎีมาพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
สื่อที่ช่วยเสริมแรง ให้ผู้เรียนมีกำลังใจในการเรียน ให้ผู้เรียนอยากเรียนอีก
เกมที่มีเฉลยคำตอบ มีคำชมเมื่อตอบถูก
องค์ประกอบของการเรียนรู้
สิ่งเร้า
การตอบสนอง
แรงขับ (ความหิว)
การเสริมแรง
เทคโนโลยีการศึกษา
การวางเงื่อนไข
การสร้างบทเรียน
การตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
การเสริมแรงทางบวก
กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมก่อนการเรียน
จัดกิจกรรมการเรียนรู้และเนื้อหาจากง่ายๆ
เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกหัดบ่อยๆ