Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด มีภาคต่างประเทศ, 62102975 นางสาว ณัฐธิดา…
บทที่ 7 ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด มีภาคต่างประเทศ
05 ใครได้ ใครเสีย เมื่อเงินบาทแข็งค่า หรืออ่อนค่า
ใครได้ประโยชน์
ผู้นำเข้า -- ลดต้นทุนการนำเข้าสินค้าเพราะสินค้าต่างประเทศถูกลง
ประชาชน -- ซื้อสินค้าจากต่างประเทศถูกลง
นักลงทุน -- เงินเข้าประเทศ ผลักดันตลาดหุ้นให้ขึ้นได้
ผู้กู้เงินจากต่างประเทศ --มีภาระหนี้ลดลง เพราะใช้เงินบาน้อยลงในการชำระหนี้
ใครเสียประโยชน์
ผู้ส่งออก
คนทำงานต่างประเทศ
ผู้ลงทุนในต่างประเทศ
04 ตัวกำหนดความต้องการในการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ?
อุปสงค์ต่อเงินตราต่างประเทศ
ความต้องการเงินตราต่างประเทศ เพื่อนำไปใช้ในวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ดังนี้
1) ชำระค่าสินค้าและบริการที่
สั่งซื้อ
จากต่างประเทศ
2) ลงทุนในต่างประเทศ
3) ระหนี้จากต่างประเทศ
4) เพื่อเป็นเงินทุนสำรอง
โดยอุปสงค์ของเงินตราจะมีความสัมพันธ์กับอัตราแลกเปลี่ยนใน
ทิศทางตรงข้าม
อุปทานต่อเงินตราต่างประเทศ
ปริมาณเงินตราต่างประเทศที่มีอยู่ โดยได้จาก
1) ปริมาณสินค้าบริการที่ส่งออก
(ขาย)
ไปต่างประเทศ (แลกกลับมาเป็นเงินบาทไทย)
2) การลงทุน หรือซื้อหลักทรัพย์
จากต่างประเทศ
3) เงินกู้
จากต่างชาติ
โดยอุปทานของเงินตราต่างประเทศจะมีความสัมพันธ์กับอัตราแลกเปลี่ยนใน
ทิศทางเดียวกัน
02 การกำหนดราคาในการค้าระหว่างประเทศ/อัตราแลกเปลี่ยน
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
คือ ราคาของเงินสกุลหนึ่ง ที่คิดเทียบอยู่ในหน่วยของเงินอีกสกุลหนึ่ง
การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน
(หรือราคาของเงินต่างประเทศ) ก็เหมือนกับการกำหนด ราคาสินค้า คือใช้หลักของ อุปสงค์ และอุปทาน
การเทียบค่าเงินสกุลหนึ่งกับอีกสกุลหนึ่ง
ไม่ได้อยู่ที่ขนาดของประเทศ หรือระดับความร่ำรวยของประเทศนั้นๆ แต่อย่างใด การตกลงอัตราแลกเปลี่ยนนี้จะขึ้นอยู่กับ "อำนาจซื้อที่แท้จริง" ของสกุลเงินนั้น คือ สินค้าและบริการ ที่เงินสกุลนั้นซื้อจะซื้อได้
03 ค่าเงินบาทแข็งค่าหรืออ่อนค่า คืออะไร และเกิดขึ้นได้อย่างไร
ค่าเงินบาทแข็งค่าหรืออ่อนค่า เกิดจากความต้องการของมนุษย์เป็นหลักหรือ ความต้องการซื้อ (อุปสงค์) และความต้องการขาย (อุปทาน) เงินสกุลไหนที่มีความต้องการมากหรือไม่มีความต้องการ ปริมาณเสนอซื้อและเสนอขายก็จะขยับไปตามความต้องการของมนุษย์หมู่มาก โดยจะมีปัจจัยต่างๆที่เข้ามากระทบทำให้ความต้องการของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไป
อัตราแลกเปลี่ยนที่เปลี่ยนแปลงไปตามกลไลตลาด เรียกว่า
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว
ซึ่งประเทศไทยได้ใช้อยู่ในปัจจุบัน เพียงแต่แบงก์ชาติอาจเข้าไปแทรกแซงบ้าง เพื่อไม่ให้อัตราแลกเปลี่ยนมีความผวนผันมากเกินไป เรียกว่า ระบบอัตราเลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการจัดการ เป็นระบบที่ประเทศส่วนใหญ่ในโลกใช้กัน
01 ทำไมต้องมีการค้าระหว่างประเทศ?
:check:ทรัพยากรธรรมชาติที่ต่างกัน
:check: ความชำนาญของแรงงานแต่ละประเทศต่างกัน
:check: แต่ละประเทศมีรสนิยมในการบริโภคสินค้าแตกต่างกัน
:check: แต่ละประเทศผลิตสินค้าชนิดที่ต้องการได้แต่เสียต้นทุนต่างกัน
:check: เทคโนโลยีที่ต่างกัน
ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ
การใช้ทรัพยากร/ปัจจัยการผลิตให้ เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่
ช่วยให้สามารถนำเข้าสินค้าต่าง ๆ ที่ต้องการ
ช่วยส่งเสริมการออม และการลงทุนภายในประเทศ
ช่วยส่งเสริมให้มีการแข่งขันในการประกอบการธุรกิจ
ช่วยบรรเทาปัญหาทางด้านการคลังของรัฐบาล
62102975 นางสาว ณัฐธิดา แก้ววิจิตต์