Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเภทของปรัชญาการศึกษา, ปรัชญาสาขาปฏิรูปนิยม(Reconstructionism) - Coggle…
ประเภทของปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาสาขาสารนิยมหรือลัทธิสารัตถนิยม (Essentialism)
ผู้ริเริ่มแนวคิด
วิลเลียม ซี แบกเลย์
ความหมาย
สารัตถนิยม หมายถึง สาระ หรือเนื้อหาที่เป็นหลัก
สารนิยม หมายถึง การศึกษา
เเนวคิดปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม
อนุรักษ์วัฒนธรรมและความเชื่อของสังคม สืบทอดความรู้เดิมๆ
หลักสูตร เน้นเนื้อหาวิชาเป็นศูนย์กลาง
ผู้เรียน มีหน้าที่ทำตามคำสั่งของครูและเน้นการบรรยาย
เน้นที่สาระที่สังคมต้องการ
ผู้สอน กำหนดตัดสินเลือกสิ่งที่เห็นว่าผู้เรียนควรจะเรียน
หลักการศึกษา
กระบวนการเรียนรู้ต้องผ่านจิต โดยญาณและแรงบันดาลใจ
การศึกษาอยู่ที่ครูมากกว่าอยู่ที่นักเรียน
หัวใจกระบวนการศึกษา คือ เน้นปริมาณความรู้เป็นสำคัญ
วิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ระเบียบวินัยและการฝึกฝนทางสติปัญญา
องค์ประกอบสำคัญ
การรับรู้
การเข้าใจ หรือสัญชาน
สารนิยมผนวกแนวความเชื่อตามหลักปรัชญาของจิตนิยม และสัจนิยม เข้าด้วยกัน
ลัทธิสัจนิยม หรือวัตถุนิยม
สิ่งที่เห็นตามธรรมชาตินั้นเป็นจริงในตัวของมัน ไม่ขึ้นอยู่กับจิต และโลกแห่งวัตถุ
ลัทธจิตนิยม หรือคตินิยม
ความจริงเป็นความนึกคิดและเป็นจิตรภาพ
ปรัชญาสาขาสัจวิทยานิยม หรือนิรันตรนิยม (Peremialism)
ผู้ริเริ่มแนวคิด โรเบิร์ต เอ็ม ฮัทชินส์
ปลูกฝังความเชื่อและค่านิยมที่ดีแก่ผู้เรียน
เน้นเหตุผลและสติปัญญา
มุ่งความเป็นเลิศทางวิชาการ
ผู้สอน เป็นผู้รู้ เป็นผู้นำทางความรู้ให้ผู้เรียนทั้งหมด
ผู้เรียน รอรับการสั่งสอนและค าแนะน าจากคร
หลักการสำคัญ
การศึกษาไม่ใช่การเลียนแบบอย่างชีวิต
วิชาที่ควรเรียน คือ วิชาภาษาประจำชาติ ปรัชญา วิจิตรศิลป์ ศาสนา วรรณคดี
ด้านการเรียนเน้นกิจกรรม การฝึก และควบคุมจิต
ปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม
หรือปรัชญาวิวัฒนาการนิยม (Progressivism)
ผู้ริเริ่ม
ยัง ย๊าคส์รุสโซ
เปตาลอสซี
3.เฟรดเดอริด โฟรเบล
การศึกษาให้มีความร่วมมือมากกว่า
แข่งขันคิดและทดลอง
เน้นประสบการณ์
ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ส่งเสริมประชาธิปไตยในชั้น
เรียน
ผู้สอน ช่วยเหลือ แนะนำ ไม่สอนโดยตรงและไม่บังคับ
คอยกระตุ้นผู้เรียน ให้คำปรึกษา ให้กำลังใจ
ผู้เรียน เรียนรู้จากลงมือทำ Learning by doing (จอนดิวอี้)
หลักการสำคัญ
การศึกษา คือ ชีวิต ไม่ใช่การเตรียมตัวเพื่อการดำเนินชีวิต
การศึกษาควรจะจัดให้สอดคล้องกับความสนใจของผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการศึกษา
การเรียนรู้โดยวิธีการแก้ปัญหา สำคัญมากกว่าเรียนโดยวิธีท่องจำเนื้อหา
บทบาทของครูควรจะเป็นที่ปรึกษา ไม่ใช่ผู้บงการ
โรงเรียนควรส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือมากกว่าการเเข่งขัน
วิถีชีวิตและค่านิยมประชาธิปไตย
ปรัชญาสาขาอัตถิภาวนิยม หรือปรัชญาสวภาพนิยม(Existense)
รู้จักใช้เสรีภาพ
ผู้ริเริ่ม
ซอเรนคีร์เคกอร์ด
เอ เอส นิลล์(ได้รับความนิยม)
เลือกทำในสิ่งต่างๆ ต้องรับผิดชอบในสิ่งที่เลือก
ผู้สอน มีบทบาทคอย ยั่วยุ กระตุ้น ให้กำลังใจ แก่ผู้เรียนให้ตื่นตัว
ผู้เรียน เป็นผู้ที่จะเลือกในสิ่งที่จะเรียน มีสิทธิเสรีภาพอิสระ
หลักสูตร
เสรีภาพของผู้เรียนสูงสุด
ผู้เรียนสำคัญที่สุด
หลักการ
ฝึกให้ผู้เรียนมีความสามารถในการเลือกและตัดสินใจ
ฝึกให้ผู้เรียนเกิดความโน้มเอียงที่จะเลือกทางใดทางหนึ่งที่ตนตัดสินใจด้วยเหตุผล
ปรัชญาวิเคราะห์(Philosophical Analysis)
กฎเกณฑ์พื้นฐาน
ข้อเท็จจริง
สิ่งที่การศึกษาจะต้องทำ
วิธีการจัดการเรียนการสอนและการบริการ
พุทธปรัชญา
นำหลักเหตุและผลไปวิเคราะห์
การพัฒนาขันธ์ ๕
หลักการศึกษา
อิทธิบาท ๔
ฉันทะ
ความพอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น
วิริยะ
ความพากเพียรในสิ่งนั้น
จิตตะ
ความเอาใจใส่ ฝักใฝ่ในสิ่งนั้น
วิมังสา
ความหมั่นสอดส่องในเหตุผลของสิ่งนั้น
ขั้นของอริยสัจสี่
ขั้นทุกข์
ความทุกข์
ขั้นสมุทัย
สาเหตุของการเกิดทุกข์
ขั้นนิโรธ
การดับทุกข์
ขั้นมรรค
หนทางการดับทุกข์
ปรัชญาสาขาปฏิรูปนิยม(Reconstructionism)
ผู้ริเริ่ม
ยอร์ช เอส เค้าทส์
ธีโอเดอร์บราเมล
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ยึดตามปรัชญานี้
มุ่งสร้างระเบียบสังคมใหม่
ช่วยแก้ปัญหาสังคมที่เป็นอยู่
ผู้เรียน ตระหนักถึงภาระหน้าที่ต่อสังคมประโยชน์ส่วนรวม
ตัวอย่างหลักสูตร
หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม
หลักสูตรแกนกลาง
ผู้สอน เชื่อมั่นในหลักประชาธิปไตย บุกเบิกแก้ปัญหาสังคม