Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 เป้าหมายของเศรษฐกิจมหภาค, 62102975 ณัฐธิดา แก้ววิจิตต์ - Coggle…
บทที่ 8 เป้าหมายของเศรษฐกิจมหภาค
1. การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
รายได้ประชาชาติ
คือ มูลค่าหรือผลรวมของรายได้ประเภทต่างๆ ที่พลเมืองของระบบเศรษฐกิจได้รับเนื่องจากการมีส่วนร่วมในการผลิตสินค้าและบริการในรอบระยะเวลาหนึ่ง
การคำนวณรายได้ประชาชาติ
GDP = DAE= C + I + G + (X-M)
C คือ ความต้องการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคของครัวเรือน
I คือ ความต้องการใช้จ่ายเพื่อการลงทุนของหน่วยผลิต
G คือ ความต้องการใช้จ่ายของรัฐบาล
(X-M) คือ ความต้องการส่งออกสุทธิ
2.เสถียรภาพด้านราคา
เงินเฟ้อ
หมายถึง ภาวะที่ระดับราคาโดยทั่วไปของสินค้าและบริการเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ
สาเหตุของภาวะเงินเฟ้อ
เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์
เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านต้นทุน
เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านอุปสงค์มวลรวมและอุปทานมวลรวม
ผลกระทบของเงินเฟ้อ
การกระจายรายได้
การออมและการลงทุนของประเทศ
ผลที่มีต่อการคลังของรัฐบาล
ผลกระทบต่อการค้าต่างประเทศ
ผลต่อการเมืองของประเทศ
เงินฝืด
คือ ภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการทั่วไปลดต่ำลงเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่อง
3.การจ้างงานเต็มที่
การว่างงาน
หมายถึง ภาวการณ์ที่บุคคลในวัยแรงงาน (กำลังแรงงาน) ที่พร้อมจะทำงานแต่ไม่สามารถหางานทำได้
แรงงานที่ไม่ได้อยู่ในวัยแรงงาน ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา นักบวช ผู้ที่เกษียณอายุ ผู้เจ็บป่วยพิการทางร่างกายและสติปัญญา และผู้ทำงานอยู่ในครัวเรือน
4.การแก้ปัญหาการกระจายรายได้
1.การใช้จ่ายของรัฐบาล
การที่เอาเงินภาษีมาใช้จ่าย เพื่อผลประโยชน์ของคนจน เช่น การสร้างถนนในชนบท การใช้จ่ายด้านการศึกษา และสาธาณสุข เป็นต้น
2.เงินโอน หรือ การให้เงินช่วยเหลือคนจน
การที่โอนเงินให้เปล่า ๆ ไม่ได้รับสินค้าและบริการตอบแทน เช่น เงินผู้สูงอายุ นโยบายเช็คช่วยชาติรายละ 2000 บาท ในปี พ.ศ. 2552 เป็นต้น
3.การเก็บภาษีคนรวยมากกว่า
การเก็บภาษีในอัตราที่เพิ่มขึ้น ตามรายได้ที่เพิ่มขึ้น เช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
62102975 ณัฐธิดา แก้ววิจิตต์