Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระเพาะอาหารส่วนปลายตีบ (Infantile Hypertrophic Pyloric Stenosis : IHPS)…
กระเพาะอาหารส่วนปลายตีบ
(Infantile Hypertrophic Pyloric Stenosis : IHPS)
ความหมาย
โรคกระเพาะอาหารส่วนปลายตีบเป็นภาวะที่ส่วน pylorus ของกระเพาะอาหารหนาตัวขึ้นในทารก ทำให้มีการตีบแคบของส่วนทางออก เกิดการอุดกั้นไม่ถึงตันที่ส่วนปลายของกระเพาะอาหาร
การวินิจฉัย
คลำทางหน้าท้องช่วงที่ทารกไม่ดิ้น และกระเพาะอาหารว่าง จะคลำได้ก้อน pylorus ลักษณะคล้ายลูกมะกอก ตำแหน่งที่คลำได้อยู่ตรงกลางลำตัว 1/3ถึง1/2จากสะดือถึงกระดูกลิ้นปี่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ การตรวจระดับเกลือแร่ ค่าความเป็นกรดในเลือด และค่าการทำงานของไต
การตรวจร่างกายเพื่อประเมินภาวะขาดน้ำพบกระหม่อมบุ๋ม ปากแห้ง ร้องโดยที่ไม่มีน้ำตา ผิวหนังแห้ง ซึมลง
อัลตร้าซาวด์ หรือตรวจทางรังสีเพิ่มเติม
การซักประวัติ ประกอบด้วยอาการ และอาการแสดง
สาเหตุ
เกิดจากการมีปริมาณกรดในกระเพาะอาหารสูงกว่าปกติ
เกิดความผิดปกติของเซลล์
เกิดจากการเกร็งของกล้ามเนื้อแบบเรื้อรัง ส่งผลให้เกิดการหนาตัวขึ้นของกล้ามเนื้อกระเพาะอาหาร และ pylorus จนกระทั่งมีการตีบแคบมากที่บริเวณ pylorus
พันธุกรรม
การพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะพร่องสารน้ำสารอาหาร และภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลต์ เนื่องจากมีการอาเจียน และการตีบแคบของ pylorus
I/O record urine output ทุก4ชม. Keep > 16 ml/4 hr.
4.เจาะเลือด และติดตามผล Lab Electrolyte ปรับเปลี่ยน IV Fluid ตามแผนการรักษา
2.ประเมินภาวะ dehydration ชั่งน้ำหนักทุกวัน วันละครั้ง ตอนเช้า
ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
1.ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษา
จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาดและสงบ เช่น การเปลี่ยนผ้าปูที่นอน การลดเสียงรบกวน
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด เช่น ทางเดินหายใจอุดกั้น สำลัก การเสียเลือดจากแผลผ่าตัดแผลติดเชื้อ
ดูแลให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากการเสียเลือดจากแผลผ่าตัด
ตรวจสอบแผลผ่าตัด ว่ามีเลือดออกผิดปกติหรือไม่
วัดและบันทึกปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ ปริมาณ urine และปริมาณเลือดที่ออกจากแผลผ่าตัดและอาเจียน
สังเกตอาการแสดงของภาวะช็อค
ดูแลแผลผ่าตัดไม่เกิดการติดเชื้อ
ทำแผลด้วยความระมัดระวัง ถูกเทคนิค
ระวังแผลไม่ให้เปียกน้ำระหว่างเช็ดตัว ไม่ให้ปนเปื้อนอุจจาระ ปัสสาวะ
ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสผู้ป่วย สัมผัสแผลผู้ป่วย
ดูแลให้ได้รับยา antibiotic ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะทางเดินหายใจอุดกั้น สูดสำลัก
ดูดเสมหะ น้ำลายในปาก และคอ
วัดและบันทึกสัญญาณชีพ สีผิว อาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจนทุก 15 นาทีในชั่วโมงแรก ทุก 30 นาที ในชั่วโมงต่อมา และทุก 1 ชั่วโมงจนกระทั่งอาการไม่เปลี่ยนแปลง
จัดท่านอนหงายศีรษะสูง หรือนอนตะแคง หันศีรษะไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อป้องกันการสำลัก หรือลิ้นตกไปอุดทางเดินหายใจ
ไม่สุขสบายจากการปวดแผล
หลีกเลี่ยงการสัมผัสบริเวณแผลผ่าตัด โดยไม่จำเป็น
ควรทำกิจกรรมต่าง ๆ หลังจากผู้ป่วยได้รับยาแก้ปวดแล้ว
ประเมิน pain scoreโดยใช้ NIPS (Neonatal Infant Pain Score) ถ้ามีpain score ≥4 ให้fentanyl 4 Mcgm vein ทุก 4 ชม. โดยต้องมีการประเมินSedation score ก่อนและหลังให้ยาทุกครั้ง
การรักษา
การแก้ไขภาวะการขาดน้ำและเกลือแร่ โดยการให้สารน้ำตามแผนการรักษาของแพทย์
การรักษาโดยการให้ยา atropine sulfate ทั้งทางหลอดเลือดดำและทางสายยางให้อาหาร ในกรณีที่ไม่สามารถผ่าตัดได้
การผ่าตัด pyloromyotomy (Ramstedt operation)
ผ่าตัดแบบเปิดแผลทางหน้าท้อง
การส่องกล้องผ่าตัด
อาการและอาการแสดง
น้ำหนักน้อยลง มีลักษณะขาดน้ำ ขาดอาหาร
มักมีภาวะตัวเหลืองร่วมด้วย (indirect hyperbilirubinemia)
อาเจียนเป็นนมที่จับตัวเป็นก้อน (curd) สีขาวกลิ่นเปรี้ยว ไม่มีน้ำดีปน
ปริมาณปัสสาวะน้อยลง
อาเจียนจะพุ่งระหว่างให้นมจะพบกระเพาะอาหารเคลื่อนไหวเป็นคลื่น (wave like) จากซ้ายไปขวา
ช็อค