Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3การพยาบาลผู้ป่วย ไฟไหม้นำ้ร้อนลวก, นางสาวเจนจิรา มายชะนะUDA6280049 …
บทที่3การพยาบาลผู้ป่วย
ไฟไหม้นำ้ร้อนลวก
วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้
อธิบายถึงบทบาทและหน้าที่ของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาไฟไหม้น้ าร้อนลวกได้
ประเมินภาวะสุขภาพ และบอกข้อวินิจฉัยปัญหาทางการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาไฟไหม้น้ าร้อนลวกได้
บอกถึงการวางแผนและให้การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาไฟไหม้น้ าร้อนลวกได้
สาเหตุ
ความร้อน เช่น
แบบแห้ง เช่น ไฟ (เตาไฟ ตะเกียง พลุ ประทัด บุหรี่),วัตถุที่ร้อน (เตารีด จานชามที่ใส่ของร้อน)
แบบเปียก เช่น น้ าร้อน ไอน้ า น้ ามันเดือด เป็นต้น1. กระแสไฟฟ้า (ไฟฟ้าช็อต)
สารเคมี เช่น กรด ด่าง
รังสี เช่น แสงแดด (แสงอัลตราไวโอเลต), รังสีโคบอลต์, รังสีเรเดียม,
รังสีนิวเคลียร์, ระเบิดปรมาณู
การเสียดสีอย่างรุนแรง
•แผลระดับที่ 1 และระดับที่ 2 ชนิดตื้น ให้การรักษาโดยการล้างแผลด้วยน้ าเกลือ
ซับแผลให้แห้ง แล้วทาด้วยครีมที่มีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อ (Topical antibiotic)หรือใช้วัสดุปิดแผลส าหรับบาดแผลระดับที่ 1 อาจใช้ครีมสเตียรอยด์หรือเจลว่านหาง
จระเข้ขององค์การเภสัชกรรม ทาบาง ๆ หรือทาด้วยวาสลินหรือน้ ามันมะกอกแทนก็ได้หรือใช้วัสดุปิดแผลส าหรับบาดแผลระดับที่ 1 อาจใช้ครีมสเตียรอยด์หรือเจลว่านหาง
จระเข้ขององค์การเภสัชกรรม ทาบาง ๆ หรือทาด้วยวาสลินหรือน้ ามันมะกอกแทนก็ได้
• ยาปฏิชีวนะทาเฉพาะที่ (Topical antibiotic) ที่นิยมใช้กันมากที่สุดคือ
1% ซิลเวอร์ซัลฟาไดอะซีน (Silver sulfadiazine) เพราะมีฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อแบคทีเรีย แต่ในกรณีที่ใช้ไปนาน ๆ แล้วเกิดเชื้อดื้อยา อาจเปลี่ยนไปใช้ยาตัวอื่นตามความไวของเชื้อ เช่น
ใช้เจนตามัยซินครีม (Gentamicin cream) ถ้าเป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบใช้ฟูซิดินครีม (Fucidin cream) ถ้าเป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก (เช่น Staphylococcus,
Streptococcus หรือเชื้อ MRSA) เป็นต้น
Burn wound dressing product
กรณี ที่ควรส่งผู้ป่วยไปโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด ได้แก่
บาดแผลระดับที่ 2 และ 3 เกิดบาดแผลที่ตา หู ใบหน้า มือ เท้า อวัยวะสืบพันธุ์ หรือตามข้อกรณี ที่ควรส่งผู้ป่วยไปโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด ได้แก่พับต่าง ๆ
-บาดแผลระดับที่ 2 ในเด็กที่มีขนาดมากกว่า 10% (10 ฝ่ามือ)-บาดแผลในผู้ใหญ่ที่มีขนาดมากกว่า 15% (15 ฝ่ามือ)
-บาดแผลระดับที่ 3 ที่มีขนาดมากกว่า 2% (2 ฝ่ามือ) ในทารก เด็กเล็ก (อายุน้อยกว่า 5 ปี)หรือผู้สูงอายุ (อายุมากกว่า 55 ปี) เพราะถึงแม้จะมีขนาดไม่กว้างมาก แต่ก็อาจท าให้มีอันตราย
ได้มากกว่าที่พบในคนวัยหนุ่มสาว ดังนั้นจึงควรน าไปรักษาที่โรงพยาบาลทุกราย-สูดควันไฟเข้าไปในระหว่างที่เกิดเหตุ-มีภาวะช็อก
ถ้ามีตุ่มพองเล็ก ๆ เกิดที่ฝ่ามือเพียง 2-3 ตุ่ม ไม่ควรใช้เข็มเจาะ แต่ให้ทาด้วยยาฆ่าเชื้อ เช่น
โพวิโดน-ไอโอดีน (Povidone-iodine) หรือทิงเจอร์เมอไทโอเลต (Merthiolate) และปิดด้วยผ้าก๊อซ แล้วตุ่มจะค่อย ๆ แห้งหลุดล่อนไปเองภายใน 3-7 วัน
• ถ้ามีตุ่มพองเป็นบริเวณกว้าง ให้ใช้กรรไกรที่ท าให้ปราศจากเชื้อขริบเอาหนังที่พองออก แล้วล้างด้วยน้ าเกลือ ซับแผลให้แห้ง แล้วทาด้วย
ครีมซิลเวอร์ซัลฟาไดอะซีน (Silver sulfadiazine),ครีมซัลฟาไมลอน (Sulfamylon),
น้ ายาโพวิโดน-ไอโอดีน (Povidone-iodine)พ่นด้วยสเปรย์พรีเดกซ์(Predexspray)
• ขนาดความกว้างของบาดแผล
หมายถึง บริเวณพื้นที่ของบาดแผล บาดแผลที่มีขนาด
ใหญ่ (กินบริเวณกว้าง) จะมีอันตรายกว่าบาดแผลที่มีขนาดเล็ก อาจท าให้ร่างกายสูญเสียน้ า โปรตีน และเกลือแร่ ถึงกับเกิดภาวะช็อกได้ และอาจมีโอกาสติดเชื้อถึงขั้น
เป็นโลหิตเป็นพิษและเสียชีวิตได้การประเมินขนาดกว้างของบาดแผล โดยทั่วไปนิยมคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ผิวหนังทั่วร่างกาย ซึ่งถ้าคิดแบบคร่าว ๆ ก็ให้เทียบเอาว่า
แผลขนาด 1 ฝ่ามือของผู้ป่วย เท่ากับ 1% ของผิวหนังทั่วร่างกาย เช่น ถ้าแผลมีขนาดเท่ากับ 5 ฝ่ามือ ก็คิดเป็นประมาณ 5% เป็นต้น
พยาธิสภาพของผิวหนังที่เกิดจากไฟไหม้ น้ าร้อนลวก
บริเวณของผิวหนังที่ได้รับบาดเจ็บ แบ่งเป็น 3 Zone ตาม Jackson’s zone of injury
Zone of coagulation เป็นบริเวณที่มีการตายของเนื้อเยื่ออย่างถาวร2. Zone of stasis เป็นบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บแต่สามารถกลับเป็นปกติได้ ถ้าได้รับการ
รักษาที่เหมาะสมหรือกลายเป็น coagulative necrosis หากรักษาไม่เหมาะสม3. Zone of hyperemia เป็นบริเวณที่เกิด Vasodilatation จากการอักเสบรอบๆ
บาดแผล โดยบริเวณนี้เป็น Viable tissue ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิด Tissue necrosis
การประเมินความกว้างขนาดของแผล (Burn size)
•การประเมิน Burn size จะใช้ Rule of nine โดยแต่ละ Upper limb
และศรีษะคิดเป็น 9% TBSA ส าหรับ Lower limb แต่ละข้างด้านหน้าด้านหลังของล าตัว คิดเป็น 18 % ส่วน Perineum และ
Genitalia คิดเป็น 1% Total body surface area
•การค านวณ Burn size จะไม่ใช่Frist degree burn ในการประมาณ
ค่าด้วย เนื่องจาก ไม่มีผลต่อ Capillary leakage
การประเมินความลึกของแผล
(Degree of burn assessment)
การประเมินความลึกของแผลมีความส าคัญในการบอกถึง
ความรุนแรงของการบาดเจ็บ- การวางแผนการรักษา
ปัจจัยที่มีผลต่อความลึกของบาดแผล ได้แก่ ระยะเวลาที่สัมผัสความร้อน อุณหภูมิ ความหนาของผิวหนังและ Heat dissipation of skin (ปัจจัยการกระจายตัว) เช่น Blood flow การปฐมพยาบาลที่ถูกวิธี
เพื่อลดการท าลายของ Zone of stasisสามารถแบ่งความลึกของแผลได้ดังนี้
•ระดับที่ 1 (First degree burn)
หมายถึง บาดแผลที่มีการท าลายของเซลล์หนังก าพร้าชั้นผิวนอก (Dermis) เท่านั้น หนังก าพร้าชั้นในยังไม่ถูกท าลาย และยังสามารถเจริญขึ้นมาแทนที่ส่วนผิวนอกได้ โดยปกติจะหายได้เร็ว
และสนิท และไม่ท าให้เกิดแผลเป็น จึงมีโอกาสหายได้สนิท
บาดแผลระดับที่ 2 ชนิดตื้น (Superficial partial-
thickness burns) คือ บาดแผลที่มีการท าลายของหนังก าพร้าทั้งชั้นผิวนอก (Dermis) และชั้นในสุด (Epidermis)
และหนังแท้ส่วนที่อยู่ตื้น ๆ (Superficial dermis) ใต้หนังก าพร้า
• ยังมีเซลล์ที่สามารถเจริญขึ้นมาทดแทนส่วนที่ตายได้ จึงหายได้เร็วภายใน 2-3 สัปดาห์
• ไม่ท าให้เกิดแผลเป็น (ยกเว้นในรายที่มีการติดเชื้อ)มีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดร่องรอยผิดปกติของผิวหนังหรืออาจ
มีโอกาสเกิดแผลเป็นแผลหดรั้งตามมาได้ หากได้รับการรักษาไม่ถูกต้องโดยบาดแผลระดับนี้มักจะเกิดจากการถูกเปลวไฟ หรือ ถูกของเหลวลวก
• อาการและบาดแผลโดยรวมจะมีลักษณะแดง และ พุพองเป็นตุ่มน้ าใสขนาดเล็กและใหญ่ผิวหนังอาจหลุดลอกออกเห็นเป็นเนื้อสีชมพูหรือสีแดง ๆ มีน้ าเหลืองซึม
• ผู้ป่วยจะรู้สึกปวดแสบปวดร้อนมาก เพราะเส้นประสาทบริเวณผิวหนังยังเหลืออยู่ไม่ได้ถูกท าลายไปมากนัก อาจท าให้สูญเสียน้ า โปรตีน และเกลือแร่ และติดเชื้อได้ง่าย
บาดแผลระดับที่ 2 ชนิดลึก (Deep partial-thickness burns)
คือ บาดแผลที่มีการท าลายของหนังแท้ส่วนลึก ลักษณะบาดแผลจะตรงกันข้ามกับบาดแผลระดับที่ 2 ชนิดตื้น คือ
จะไม่ค่อยมีตุ่มพอง แผลเป็นสีเหลืองขาว แห้ง และไม่ค่อยปวดบาดแผลชนิดนี้มีโอกาสท าให้เกิดแผลเป็นได้แต่ไม่มาก ถ้าไม่มี
การติดเชื้อซ้ าเติมแผลมักจะหายได้ภายใน 3-6 สัปดาห์ ซึ่งการใช้ยา
ปฏิชีวนะเฉพาะที่จะช่วยท าให้แผลไม่เกิดการติดเชื้อได้
ระดับที่ 3 (Third degree burn) หมายถึง บาดแผลที่มีการท าลายของหนังก าพร้าและหนัง
แท้ทั้งหมด รวมทั้งต่อมเหงื่อ รูขุมขน และเซลล์ประสาท และอาจกินลึกจนถึงชั้นกล้ามเนื้อหรือ กระดูก ผู้ป่วยจึงมักไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดที่บาดแผลเนื่องจากเส้นประสาทที่อยู่
บริเวณหนังแท้ถูกท าลายไปหมดมักเกิดจากไฟไหม้ หรือถูกของร้อนนาน ๆ หรือถูกไฟฟ้าช็อต ถือเป็นบาดแผลที่ร้ายแรง เพราะอาจท าให้เกิดภาวะขาดน้ าและ
ติดเชื้อรุนแรงได้• ผิวหนังทั้งชั้นจะหลุดลอกออกเห็นเป็นเนื้อแดง ๆ หรือแดงสลับขาว หรือเป็นเนื้อที่ไหม้เกรียม
บาดแผลระดับนี้จะไม่หายเอง แผลมักจะหายยากและเป็นแผลเป็น• บางรายจะพบแผลเป็นที่มีลักษณะนูนมาก (Hypertrophic scar or keloid) นอกจากนี้
ยังมีโอกาสเกิดแผลหดรั้งท าให้ข้อยึดติดตามมาสูงมาก ถ้าได้รับการรักษาไม่ถูกต้อง
STSG
• บาดแผลที่เกิดจากความร้อนหรือไฟ มักท าให้ผู้ป่วยมีอาการปวดและเกิดการติดเชื้อตามมาได้
ดังนั้น การดูแลรักษาหลัก ๆ คือ- การให้ยาแก้ปวด มอร์ฟีน
ยาลดการอักเสบ (NSAIDs)- การให้ยาแก้ปวด มอร์ฟีน
ยาลดการอักเสบ (NSAIDs)การดูแลรักษาจะให้สารละลายทางหลอดเลือดด าเป็นหลัก
• ภาวะแทรกซ้อนในระยะ 2-3 วันแรก คือ
1.ภาวะขาดน้ าและช็อก ถ้าผู้ป่วยมีบาดแผลกว้าง แพทย์จะให้สารน้ า ได้แก่ ริงเกอร์แลกเตท (Ringer's lactate) โดย
วันแรกอาจให้ในขนาด 4 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ต่อเนื้อที่บาดแผล 1% โดยเกอร์แลกเตท (Ringer's lactate) โดย
วันแรกอาจให้ในขนาด 4 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ต่อเนื้อที่บาดแผล 1% โดย2.การติดเชื้อที่อาจเกิดขึ้นหลังจากมีบาดแผล 2-3 วันไปแล้ว (หรือหลัง 1 สัปดาห์)
ถ้าบาดแผลมีขนาดกว้างก็จะมีโอกาสติดเชื้อรุนแรง และโดยทั่วไป ถือว่าบาดแผลระดับที่ 2 ที่มีขนาดมากกว่า 30% และบาดแผลระดับที่ 3 ที่มีขนาดมากกว่า 10%
ถือเป็นบาดแผลรุนแรง รักษาได้ยากและผู้ป่วยมักมีอัตราการเสียชีวิตสูง
• การดูแลตนเองหลังรับการรักษายังคงต้องรักษาความสะอาดของแผลให้ดี
• ทายาหรือรับประทานยาตามที่แพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด• หลีกเลี่ยงการสัมผัสฝุ่น หรือสิ่งที่ท าให้เกิดการระคายเคือง
• หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสัตว์ทุกชนิด เพราะหากโดนบริเวณบาดแผล อาจท าให้เกิดอาการคันหรือมีการติดเชื้อได้ง่าย
• ควรเน้นการรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูงให้มาก ๆ เช่น เนื้อ นม ไข่ ถั่วต่าง ๆเพื่อช่วยเสริมการสร้างเนื้อเยื่อใหม่บริเวณบาดแผลให้แผลหายเร็วขึ้น
• บริเวณข้อต่อต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ข้อมือ นิ้วมือ ข้อพับแขน ข้อศอก ข้อเท้าคอ ไหล่ ที่มีแผลค่อนข้างลึก ซึ่งอาจท าให้เกิดแผลเป็นดึงรั้ง มีผลให้ข้อต่อต่าง ๆ
ยึดติด ท าให้เคลื่อนไหวได้ไม่เต็มที่ หรือเกิดผิดรูปผิดร่างไปจากเดิม และอาจก่อให้เกิดความพิการขึ้นได้ ดังนั้น ผู้ป่วยจึงควรบริหารข้อต่อนั้น ๆ อย่างจริงจัง
และสม่ าเสมอ• เมื่อแผลหายดีแล้วจะต้องระวังไม่ให้แผลถูกแสงแดดหรือให้ใช้ครีมกันแดดเป็นเวลา
3-6 เดือน และควรใช้น้ ามันหรือครีมโลชั่นทาที่ผิวหนังอยู่เสมอเพื่อลดอาการแห้งและคัน
นางสาวเจนจิรา มายชะนะUDA6280049