Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการของการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยเเละความปลอดภัย, นางสาวอรอุมา…
หลักการของการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยเเละความปลอดภัย
1.การตระหนัก Recognition
หมายถึง การคาดการณ์หรือหยั่งรู้ถึงสาเหตุการเกิด อุบัติเหตุ อันตราย หรือโรคจากการทำงาน ซึ่งอาจส่งผลต่อผู้ปฏิบัติงาน
มี2ปัจจัยที่สำคัญคือ
1.การกระทำที่ไม่ปลอดภัย
การทำงานไม่ถูกวิธี หรือไม่ถูกขั้นตอน
ความประมาท พลาดพลั้ง เหม่อลอย
ใช้เครื่องมือไม่เหมาะสม
2.สภาพเเวดล้อมในการทำงานที่ไม่ปลอดภัย
เช่น การทำงานในสภาพที่มีเสียงดัง ความสะ่นสะเทือน ความร้อน ความเย็น รังษี เเสงสว่าง ความกดดันบรรยากาศ รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการทำงาน
2. การประเมิน Evatuation
หมายถึง การประเมินสภาพเเวดล้อมในการทำงานที่ผู้ปฎิบัติงานสัมผัสว่ามีศักยภาพ เเนวโน้ม หรือมีโอกาศที่จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุจากการทำงานหรือไม่
การประเมินเเบ่งออกเป็น 2 ส่วน
การปรเมินด้านสิ่งเเวดล้อม
อาศัยการประเมินโดยใช้เครื่องมือทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรมในการประเมิน เช่นการประเมินอันตรายด้านกายภาพ เคมี เเละชีวภาพ โดยใช้เครื่องมือวัดต่าง ๆ เช่น เครื่องวัดความร้อน เครื่องวัดเสียง เป็นต้น
การประเมินด้านสุขภาพ
เป็นการประเมินสภาวะสุขภาพของคนทำงาน โดยการนำคนงานไปตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน จะต้องมีการตวจสุขภาพขณะทำงานเเละตรวจสุขภาพประจำปี การตวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงที่ผู้ปฎิบัติงานได้รับ เพื่อเป็นการคัดเลือกคนให้เหมาะกับงาน
3. การควบคุม Controt
หมายถึง การปรับปรุงสภาพเเวดล้อม ในการทำงานให้ผุ้ปฎิบัติงานสามารถปฎิบัตงานได้ อย่างปลอดภัย จากหลักการประเมินอันตรายจากการทำงาน หากพบว่าสภาพเเวดล้อมในการทำงานนั้นไม่เหมาะสมเเละเป็นอันตรายต่อผู้ประกอบอาชีพ ดังนั้นต้องมีการดำเนินการป้องกันเเละควบคุมอันตราย
หลักการ
เเหล่งกำเนิด
ทางผ่าน
ตัวบุคคล
วิธีการ
การควบคุมทางวิศวกรรม
การควบคุมทางด้านการบริหารจัดการ
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
การควบคุม มีความครอบคลุมการดำเนินงาน 3 ด้าน
ความปลอดภัยของผู้ปฎิบัติงาน
2.สภาพเเวดล้อมในการทำงาน
ความปลอดภัยนอกงาน
องค์การอนามัยโลกและองค์การเเรงงานระหว่างประเทศได้กำหนดขอบข่ายลักษณะงาานชีวอนามัย ไว้ 5 ประการสำคัญ
1.การส่งเสริม
2.การป้องกัน
3.การปกป้องคุ้มครอง
4.การจัดการทำงาน
5.การปรับงาน
องค์ประกอบของสิ่งเเวดล้อมในการทำงาน
ทางกายภาพ
ทางเคมี
ทาวชีวภาพ
ทางเออร์โกโนมิกส์
นางสาวอรอุมา เยาว์นุ่น เลขที่97