Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ขั้นตอนการตรวจคัดครองสายตา, นางสาวอรอุมา เยาว์นุ่น 62122301097 - Coggle…
ขั้นตอนการตรวจคัดครองสายตา
อุปกรณ์ที่ใช้ตรวจวัดสายตา
1.แผ่นวัด E-chart หรือ Snellen Chart หรือ Snellen box
2.เทปวัดระยะ
3.กระดาษเเข็งตัวตัดเป็นรูปตัว E (E-Chart)
4.กระดาษเเข็งหรืออุปกรณ์ปิดตา
5.เเว่นรูเข็ม เป็นเครื่องมือเเยกเเยะความสามารถในการมองเห็น
สถานที่ในการตรวจ
ขนาดห้องมีความยาวไม่น้อยกว่า 6 เมตร
มีแผ่นฝาผนังที่เรียบ
มีเเสงสว่างที่ห้องนั้นที่เพียงพอ
การวัดสายตา
วิธีที่1
ให้นักเรียนยืนที่ระยะห่างจากแผ่นวัดสายตา 6 เมตร ใช้ Occluder ปิดตาซ้าย โดยไม่กดลูกตา ตั้งเเต่เเถวบนสุดลงมาจนถึงเเถวล่าง การตัดสินว่า "อ่านผ่าน"
การบันทึกผลความสามารถในการมองเห็น เป็นเศษส่วนโดย
เศษ หมายถึง ระยะที่ผู้ถูกทดสอบยืน ( 6,5,4,3,2,1 เมตร)
ส่วน หมายถึงระยะตัวอักษรที่อ่านได้บนนแผ่นวัดสายตา (6,9,12,18,24,36,60เมตร)
3.ถ้าอ่านได้ถึงเเล้วล่างสุดก่อนเส้นสีเเดง (แถวที่มีเลข6กำกับ) ถูกต้อง ถือว่ามีความปกติ ให้บันทึกค่าสายตาที่วัดได้ 6/6 เมตร ถ้าอ่านไม่ถึง6/6 ให้บันทึกเลขส่วนของค่าสายตาที่นักเรียนอ่านได้ เช่น 6/9 , 6/12, 6/18
4.ในกรณีที่นักเรียนมีค่าสายตาต่ำกว่า 6/6 ให้วัดสายตาใหม่อีกครั้งโดยการมองผ่านรู P.H.เเล้วอ่านเเถวเดิมที่อ่านไม่ได้ ถ้าอ่านได้ถูกต้อง เเสดงว่า ค่าสายตาที่ต่ำกว่าปกติ เกิดจากการหักเหของแสง
หากในระยะ 6 เมตร เเล้วไม่สามารถมองเห็นบรรทัดบนสุดได้ ให้เลื่อนระยะที่ยืนเข้ามาที่ละ1เมตร เเล้วอ่านตัวเลขเฉพาะเเถวบนสุดจนกว่าจะอ่านได้ ถ้าอ่านได้เมื่อยืนที่ระยะ 3 เมตร เเสดงว่ามีค่าสายตา 3/60
6.หากยืนที่ระยะ1เมตรแล้วไม่สามารถอ่านตัวเลขเเถวบนสุดได้ ให้หยุดการทดสอบด้วย Snellen chart แล้วทดสอบด้วยการนับนิ้ว หากนับถูก นักเรียนจะมีระดับการมองเห็นเท่า Counting fingers (CF)
กรณีไม่สามารถนับนิ้วได้ถูกต้องใหผู้ตรวจใช้วิธีการโบกบกหรืเคลื่อนไหวมือไปมาในแนวตั้ง หรือ แนวนอน ก็ได้แล้วดูว่า นักเรียนสามารถรับรู้ถึงการเคลื่อนไหวของมือหรือไม่ถ้านักเรียนรับรู้ได้ถูกต้องจะมีระดับการมองเห็น เท่ากับ hand motions (HM)
กรณีที่นักเรียนไม่สามารถรับรู้การเคลื่อนไหวของมือได้ให้ผู้ตรวจให้แสงไฟส่องหน้านักเรียนเเละให้บอกชี้ทิศทางของต่ำเเหน่งเเสง
หากรับรู้เเต่เพียงมีเเสงไฟ เเต่ไม่สามารถบอกทิศทางของต่ำแหน่งเเสงไฟที่ส่องมาได้ แสดงว่ามีระดับการมองเห็น projection of light (PJ)
กรณีที่ไม่รับรู้ได้เลยว่ามีเเสงไฟหรือไม่ แสดงว่าการมองเห็นเท่ากับตาบอดสนิสหรือ no light perception (NLP
7.ในกรณีที่นักเรียนสวมเเว่นสายตาอยู่แล้วให้วัด2ครั้ง คือก่อนสวมเเว่นเเล้วบันทึกในช่องว่า วัดสายตาไม่สวมเเว่น ต่อมาให้นักเรียนสวมเเว่นเเล้ววัดอีก1ครั้ง เพื่อจะได้ทราบว่าเเว่นสายตาของนักเรียนเหมาะสมกับสายตาหรือไม่ เเล้วบันทึกว่าในช่อง วัดสายตาสวมเเว่น
8.ทดสอบด้านซ้ายด้วยวิธีเดียวกัน
วิธีที่2
เป็นวิธีที่รวดเร็วเเละนิยมใช้ในการปฎิบัติโดยให้ผู้วัดชี้้ตัวอักษรแถวที่คนยืนปกติยืนในระยะ 6เมตร สามารถอ่านได้ 6/6 ถ้าอ่านเเล้วไม่ผ่านจึงจะเลื่อนให้อ่านบรรทัดที่อยู่ถัดไป
วิธีการชี้แผ่นตรวจ
ควรชี้ทุกตัวเเละชี้สลับกันบ้างเพื่อไม่ให้นักเรียนท่องจำจากนั้นจึงบันทึกผลลงในช่อง "ตาขวา" สำหรับการวัดตาซ้ายก็ปฎิบัติเช่นเดียวกัน ถ้ายืนที่ระยะ6เมตร แล้วไม่สามารมองเห็นบรรทัดบนสุดได้ ให้เลือนระยะที่ยืนให้ใกล้เข้ามาที่ละ 1 เมตร
การวินิจฉัยภาวะสายตาผิดปกติ
VA = 6/9 - 6/12หรือ 20/30-20/40
เฝ้าระวังโดยการวัดสายตาปีละครั้ง
VA< 6/12หรือ 20/40หรือระดับสายตาทั้งสองข้างต่างกันเกิน2แถว
พบเเพทย์เพื่อวัดสายตาประกอบเเว่นหรือตรวจวินิจฉัยต่อไป
นางสาวอรอุมา เยาว์นุ่น 62122301097