Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการศึกษาใน มหาวิทยาลัยพายัพ - Coggle Diagram
การจัดการศึกษาใน
มหาวิทยาลัยพายัพ
ทุนการศึกษาของมหาวิทยาลัยพายัพ
6.ทุนการศึกษาโครงการบริการชุมชน
7.ทุนทำงาน (Work scholarship)
5.ทุนส่งเสริมการศึกษา คณะต่าง ๆ
8.ทุนการศึกษาบุตรบุคลากรมหาวิทยาลัยพายัพ
4.ทุนความสามารถพิเศษ
9.ทุนการศึกษาบุตรศิษยาภิบาลสังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย
3.ทุนเรียนดีเยี่ยม
10.ทุนการศึกษาโรงเรียนในเครือสภาคริสตจักรในประเทศไทย
ทุนเรียนดี
11.ทุนการศึกษาทั่วไป (ทุนดอกผลและทุนนอน)
1.ทุนนักกีฬา
ระบบการศึกษา
มหาวิทยาลัยพายัพ จัดการศึกษาเป็นระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษามีภาค การศึกษาบังคับ 2 ภาค คือ ภาคการศึกษาที่1 และภาคการศึกษาที่2 สำหรับหนึ่งภาคการศึกษามีระยะเวลา การศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ ภาคฤดูร้อนซึ่งเป็นภาคการศึกษาไม่บังคับ
ปีการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยจัดการศึกษาหลักสูตรไทย และหลักสูตรนานาชาติ แบ่งเป็นระดับ ปริญญาตรี จำนวน 3 วิทยาลัย 6 คณะวิชา รวม 22 สาขาวิชา ระดับปริญญาโท รวม 4 สาขาวิชา และระดับ ปริญญาเอก 1 สาขาวิชา
โครงสร้างหลักสูตร
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ศท 141 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน 3 หน่อยกิต
ศท 143 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อคุณภาพชีวิต 3 หน่อยกิต
ศท 142 เล่าเรื่องสุขภาพ 3 หน่อยกิต
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
ศท 111 สัจจะและบริการ 3 หน่อยกิต
ศท 113 วิถีทางสร้างปัญญา 3 หน่อยกิต
ศท 114 พลเมือง ธรรมาภิบาลกับสันติภาพ 3 หน่อยกิต
กลุ่มวิชาภาษา เพื่อการสื่อสาร
ศท 127 ภาษาไทยเพื่อการเรียนรู้ 3 หน่อยกิต
ศท 130 ภาษาอังกฤษสำหรับชีวิตประจำวัน 3 หน่อยกิต
ศท 135 ภาษาอังกฤษสำหรับการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม 3 หน่อยกิต
ศท 136 ภาษาอังกฤษจากสื่อเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 3 หน่อยกิต
ศท 431 ภาษาอังกฤษเพื่อการทำงาน 3 หน่อยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี
จำนวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ
เฉลี่ยจะอยู่ที่ 90-110 หน่วยกิตต่อหลักสูตร แบ่งออกเป็นกลุ่มวิชาต่าง ๆขึ้นอยู่กับหลักสูตรของแต่ละคณะวิชา / สาขาวิชากำหนด เช่น กลุ่มวิชาเอกบังคับ กลุ่มวิชาเอกเลือก กลุ่มวิชาแกน กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน กลุ่มวิชาโท กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ กลุ่มวิชาชีพ
ระเบียบการศึกษา
การวัดผลการศึกษา
เวลาเรียน
ต้องมีเวลาเรียนแต่ละรายวิชาไม่น้อยกว่า 80% ของจำนวนชั่วโมงเรียนทั้งหมดจึงจะมีสิทธิ์เข้าสอบไล่ หากไม่ถึง 80% แต่คะแนนความประพฤติดีเกิน 70 คะแนน อาจได้รับพิจารณาและอนุมัติให้เข้าสอบไล่
กรณีที่มีเวลาเรียนไม่ถึง 80% และไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าสอบ นักศึกษาผู้นั้นอาจได้รับอักษรระดับคะแนน F, I หรือ W แล้วแต่กรณี
สัญลักษณ์การวัดผลการศึกษา
I การวัดผลไม่สมบูรณ์(Incomplete)
P การวัดผลผ่าน (Pass)
NP การวัดผลไม่ผ่าน (No Pass)
IP กาลังอยู่ในระหว่างการวัดผล (Grading in Progress)
CE ได้จากการทดสอบโดยใช้ข้อสอบของมหาวิทยาลัย (Credits from Examination)
CS ได้จากการใช้แบบทดสอบมาตรฐาน (Credits from Standardized Test)
CT ได้หน่วยกิตจากการประเมินการศึกษาอบรมที่จัดโดยหน่วยงานอื่น
ที่ไม่ใช่สถาบันอุดมศึกษา (Credits from Training)
CP ได้หน่วยกิตจากการเสนอแฟ้มสะสมงาน (Credits from Portfolio)
W การบอกเลิกรายวิชา (Withdrawn)
U การไม่ขอรับหน่วยกิต (Audit)
A ดีเลิศ
B+ ดีมาก
B ดี
C+ ดีพอใช้
C พอใช้
D+ อ่อน
F ไม่ผ่าน
D อ่อนมาก
การจัดการวัดผลการศึกษา
ไม่น้อยกว่าหนึ่งครั้ง
การขอเลื่อนสอบ
นักศึกษาผู้มีสิทธิ์ขอเลื่อนสอบ
ต้องมีเหตุผลจำเป็นประการใดประการหนึ่ง
ป่วยหรือบาดเจ็บจนถึงขนาดที่ไม่สามารถเข้าสอบได้
และจะต้องมีใบรับรองแพทย์
บิดาหรือมารดาเสียชีวิตก่อนหรือระหว่างสอบ
หากมีกรณีอื่นใดนอกเหนือจากเงื่อนไขและหลักเกณฑ์นี้
ให้อยู่ในดุลยพินิจของรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
ให้นักศึกษาผู้มีสิทธ์ิขอเลื่อนสอบ ยื่นคำร้องต่ออาจารย์ผู้สอนภายใน 7 วัน
การประเมินผลการศึกษา
กรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาใดรายวิชาหนึ่งมากกว่าหนึ่งครั้ง ให้นับแต้มระดับคะแนนเฉพาะครั้งสุดท้าย
ถ้าได้อักษรระดับคะแนนรายวิชาใดไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่แต่ละหลักสูตรได้กำหนดไว้ จะต้องเรียนรายวิชานั้นซ้ำ
มหาวิทยาลัยจะคำนวณแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมจากหน่วยกิต ได้อักษรระดับคะแนน A, B+, B, C+, C, D+, D หรือ F
การประเมินผลการศึกษา ให้กระทำเมื่อสิ้นการศึกษาแต่ละภาคการศึกษา
การพ้นสภาพนักศึกษา
ไม่ลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาปกติโดยไม่ลาพักการเรียนและไม่แจ้งให้มหาวิทยาลัยทราบ
ใช้เวลาศึกษาเกินเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ต้องคำพิพากษาถึงที่สุด ให้ลงโทษจาคุก
เมื่อผลการศึกษาไม่เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้
มหาวิทยาลัยให้พ้นสภาพนักศึกษา เนื่องจากประพฤติผิดระเบียบร้ายแรง
ศึกษาจบหลักสูตร
ถึงแก่กรรม
ลาออก
เกณฑ์ก่อนสำเร็จการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านภาษาอังกฤษ
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสำเร็จการศึกษา
ถ้ามีคุณสมบัติถูกต้องครบถ้วนตามหลักเกณฑ์การให้เกียรตินิยม
ที่จะสำเร็จการศึกษาทุกคนจะต้องผ่านเกณฑ์ ก่อนสำเร็จการศึกษา 3 ด้าน ได้แก่ ด้านภาษาอังกฤษ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านคุณธรรม จริยธรรม ตามที่มหาวิทยาลัยพายัพกำหนด
จะต้องมีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมของรายวิชาทั้งหมดรวมไม่น้อยกว่า 2.00 และมีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมของกลุ่มวิชาแกน หรือวิชาชีพ และรายวิชาเอกรวมกันแล้วไม่น้อยกว่า 2.00 แต่ไม่ถึง 2.00 และไม่ต่ำกว่า 1.75 จะได้รับอนุปริญญา
ไม่มีพันธะหรือหนี้สินใด ๆ ผูกพันกับมหาวิทยาลัย
ใช้เวลาศึกษาไม่เกินเวลาที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
มีความประพฤติดีสมแก่ศักดิ์ศรีแห่งปริญญา
ศึกษารายวิชาต่าง ๆ ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขของหลักสูตรนั้นๆ
ระเบียบมหาวิทยาลัยพายัพว่าด้วยการปฏิบัติในการสอบ
3.สิ่งที่นำเข้าห้องสอบได้คือ อุปกรณ์เครื่องเขียนที่จำเป็นสำหรับการสอบรายวิชาน้ัน
4.ต้องแสดงบัตรประจำตัวนักศึกษา
2.ต้องแต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบ
5.ต้องเข้าสอบตามเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนดไว้
1.ต้องเข้าสอบตามวัน เวลาและสถานที่ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
7.ต้องการสิ่งใดหรือมีกิจธุระใด ขณะที่สอบให้ขออนุญาตจากอาจารย์ผู้คุมสอบก่อน
8.เมื่อหมดเวลาสอบแล้วจะต้องหยุดทำข้อสอบทันที
6.ห้ามออกจากห้องสอบก่อนเวลาที่กำหนดไว้
9.ถ้าฝ่าฝืนระเบียบในข้อ2,3,7หรือ 8ในครั้งแรกจะถูกเตือน
คร้ังท่ีสองจะไม่มีสิทธ์ิเข้าสอบในรายวิชาต่อไป
การให้เกียรตินิยม
คะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 3.50 ขึ้นไป ได้รับเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง
คะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 3.25 ขึ้นไป
แต่ไม่ถึง 3.50ได้รับ เกียรตินิยมอันดับสอง
ไม่เป็นนักศึกษาที่ขอเทียบวิชาเรียนและโอนหน่วยกิตมาจากสถาบันการศึกษาอื่น หรือนักศึกษาหลักสูตรต่อเนื่อง
ใช้เวลาศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยพายัพ เป็นเวลาติดต่อกันไม่เกินระยะเวลาขั้นต่ำที่มหาวิทยาลัย กำหนดไว้ในหลักสูตร
ศึกษารายวิชาต่างๆ ครบตามหลักสูตรและเงื่อนไขของแต่ละสาขาวิชา โดยไม่เคยได้รับอักษรระดับคะแนน F ในรายวิชาใดๆ
การลงทะเบียนเรียน
การลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่างๆ จะต้องได้รับความเห็นชอบ จากอาจารย์ที่ปรึกษาก่อน
การลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่างๆ
นักศึกษาจะลงทะเบียนรายวิชาที่มีวันเวลาสอบตรงกันไม่ได้อย่างเด็ดขาด
ลงทะเบียนเรียนภาคละไม่ต่ำกว่า 9 หน่วยกิต และไม่เกิน 22 หน่วยกิต
ในกรณีที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง เช่นอาจสำเร็จการศึกษาในภาคการศึกษานั้น และรายวิชาท้ังสองเป็นรายวิชาที่นักศึกษาต้องเรียนตามข้อกำหนดของหลักสูตร นักศึกษาจะต้องได้รับอนุมัติจากฝ่ายวิชาการฯก่อน จึงจะลงทะเบียนเรียนได้
นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนพร้อมชำระเงินให้เสร็จเรียบร้อย ภายในเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด
และนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนไม่ถูกต้องจะต้องแก้ไขให้ถูกต้องภายใน 4 สัปดาห์หลังจากวันลงทะเบียน