Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจตา - Coggle Diagram
การตรวจตา
การประเมิน
- ความสามารถในการมองเห็นน้อยกว่า 6/12 ต้องส่งพบจักษุแพทย์
3.ความสามารถในการมองเห็นของตา 2 ข้างต่างกันเกิน 2 แถว เช่นตาขวา 6/6 ตาซ้าย 6/18 ต้องรีบส่งพบจักษุแพทย์เพื่อวัดสายตาประกอบแว่น
- ความสามารถในการมองเห็น 6 / 9-6 / 12 ต้องทำการเฝ้าระวังโดยการวัดสายตาปีละ 1 ครั้ง แต่ถ้ามีอาการผิดปกติภายหลังการใช้สายตามร่วมด้วย เช่น อาการปวดศีรษะปวดกระบอกตาสายตามัวลงเป็นต้นต้องส่งพบจักษุแพทย์
ขั้นตอน
วิธีที่1
- การบันทึกผลความสามารถในการมองเห็น (Visual Acuity V.A. ) เป็นเศษส่วน เศษ หมายถึง ระยะทางที่ผู้ถูกทดสอบยืน (6, 5, 4, 3, 2, 1 เมตร) ส่วน หมาย ถึงระยะตัวอักษรที่อ่านได้บนแผ่นวัดสายตา (6, 9 12, 18, 24, 36, 60 เมตร)
- ถ้าอ่านได้ถึงแล้วล่างสุดก่อนเส้นสีแดง (แถวที่มีเลข 6 กำกับ) ถูกต้องถือว่ามีสายตาปกติ ให้บันทึกค่าสายตาที่วัดได้คือ 6/6 เมตร ถ้าอ่านไม่ได้ถึง 6/6 ให้บันทึกเลขส่วนของค่าสายตาที่อ่านได้ตามตัวเลขที่กำกับไว้ในแถวนั้น เช่น 6/9, 6/12 6/16, 6/24, 6/36, 6/60 ในกรณีที่อ่านผิดให้บันทึกด้วย เช่นอ่านตัวเลขแถว 6/12 ผิดไป 2 ตัวก็บันทึกค่าสายตาเป็น 6 / 12-2
- ให้นักเรียนยืนที่ระยะห่างจากแผ่นวัดสายตา 6 Occluder ปิดตาซ้ายโดยไม่กดลูกตาอ่านตัวเลขบนแผ่นป้ายวัดสายตาด้วยตาข้างขวาตั้งแต่แถวบนสุดลงมาจนถึงแถวล่างการตัดสินว่า "อ่านผ่าน” ต้องอ่านถูกต้องเกิดครั้งของบรรทัดนั้นเช่นแถวที่มีตัวเลข 3 ตัวต้องอ่านได้ถูกต้องอย่างน้อย 4 ตัว
- นักเรียนมีค่าสายตาต่ำกว่า 6/6 ให้วัดสายตาอีกครั้ง โดยการมองผ่านรู P.A. (pin hole) แล้วอ่านแถวเดิมที่อ่านไม่ได้ ถ้าอ่านได้ถูกต้องแสดงว่าค่าสายตาที่ต่ำกว่าปกติเกิดจากการหักเหของแสงคลาดเคลื่อน (refractive error) จากสาเหตุสายตาสั้น สายตายาว หรือสายตาเอียง แต่ถ้ายังอ่านไม่ได้เหมือนเดิม แสดงว่าสายตาต่ำกว่าปกติจากโรคทางสายตา
- ในระยะ 6 เมตรแล้วไม่สามารถมองเห็นบรรทัดบนสุดได้ (แถวระยะ 60 เมตร) ให้เลื่อนระยะที่ยืนเข้ามาทีละ 1 เมตร แล้วอ่านตัวเลขเฉพาะแถวบนสุดจนกว่าจะอ่านได้ ถ้าอ่านได้เมื่อยืนที่ระยะ 3 เมตรแสดงว่ามีค่าสายตา 3/60
- ในระยะ 1 เมตรแล้วไม่สามารถอ่านตัวเลขแถวบนสุดได้ (แถวระยะ 60 เมตร) ให้หยุดทดสอบด้วย Snellon chart แล้วทดสอบด้วยการนับนิ้วมือ หากนับได้ถูกจะมีระดับการมองเห็นเท่ากับ“ counting fingers (CF) " เช่น “ CF ที่ 2 ฟุต” คือ นักเรียนสามารถนับนิ้วได้ถูกที่ระยะห่างไม่ไกลเกิน 2 ฟุต เป็นต้น
- หากไม่สามารถนับนิ้วได้ถูกต้องให้ผู้ตรวจใช้วิธีโบกหรือเคลื่อนไหวมือไปมาในแนวตั้งหรือแนวนอนก็ได้ หากนักเรียนรับรู้ถึงการเคลื่อนไหวของมือหรือไม่ถ้ารับรู้ได้ถูกต้องจะมีระดับการมองเห็นเท่ากับ '' hand motions (HM)''
- หากไม่สามารถรับรู้การเคลื่อนไหวของมือ ให้ผู้ตรวจให้แสงไฟส่องหน้าตานักเรียน และให้นักเรียนที่บอกทิศทางของตำแหน่งของแสงไฟที่ส่องเข้าหากนักเรียนชี้ได้ถูก จะมีระบบการมองเห็นเท่ากับ“ (projection of light) (PJ) " หากรับรู้ว่ามีแสงไฟ แต่บอกทิศทางของตำแหน่งของแสงไฟที่ส่องมาไม่ได้แสดงว่ามีระดับการมองเห็นเท่ากับ poroeption of light (PL)
- หากไม่สามารถรับรู้ได้เลยว่ามีแสงไฟหรือไม่ แสดงว่าการมองเห็นเท่ากับตาบอดสนิทหรือ“ no light perception (NLP)” (ต้องเป็นแสงไฟที่สว่างที่สุด)
- ในกรณีที่นักเรียนสวมแว่นสายตาอยู่แล้วให้วัด 2 ครั้งคือวัดก่อนสวมแว่นแล้วบันทึกในช่อง“ วัดสายตาไม่สวมแว่น” ต่อมาให้นักเรียนสวมแว่นแล้ววัดอีก 1 ครั้งเพื่อจะได้ทราบว่าแว่นสายตาของนักเรียนเหมาะสมกับสายตาหรือไม่แล้วบันทึกในช่อง“ วัดสายตาสวมแว่น”
- ให้ทดสอบด้านซ้ายด้วยวิธีเดียวกัน
วิธีที่2
วิธีที่รวดเร็ว และนิยมใช้ในทางปฏิบัติ โดยให้ผู้วัดชี้ตัวอักษรแถวที่คนยืนปกติยืนในระยะ 6 สามารถอ่านได้ 6/6 ถ้าอ่านแล้วไม่ผ่านจึงจะเลือนให้อ่านบรรทัดที่อยู่ถัดขึ้นไป
วิธีการ
-
ผู้ที่สามารถวัดสายตา ได้แก่ บุคลากรสาธารณสุขพยาบาลครูหรือนักเรียนซึ่งผ่านการอบรมเกี่ยวกับวิธีการวัดสายตา
-
-
-