Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ห้องเรียนปฐมวัย - Coggle Diagram
การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ห้องเรียนปฐมวัย
ช่วงบ่าย
เวลา 13.48 น. การจัดทำหน่วยการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยมีทั้งหมด 8 ชั้น
ขั้นที่4 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ขั้นที่5 ลำดับความสำคัญ
ขั้นที่3 วิเคราะห์และกำหนดคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์
ขั้นที่6 เขียนแผนการจัดประสบการณ์
ขั้นที่2 ตัดสินใจเลือกประเภทการจัดประสบการณ์บูรณาการ
ขั้นที่7 ประเมินผล
ขั้นที่1 ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัย
ขั้นที่8 ปรับปรุง แก้ไข
เวลา 13.34 น. จากหลักสูตรสู่บริบทการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
เวลา 13.45 น.การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
เวลา 13.27 น. เพลงอนุบาลยิ้ม
เวลา 15.00 น. ฝึกกระบวนการคิดทำแผนการสอนและนำเสนอแผน
เวลา 15.50น.เลิกการอบรม
ช่วงเช้า
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์โดยการจัดกิจกรรมการละเล่น หมากเก็บ สำหรับชั้น อนุบาลปีที่ 3
เวลา 08.58 น.นักศึกษาชั้นปีที่ 3 และชั้นปีที่ 4 เข้าร่วมอบรมและทักทายกันด้วยเพลงสวัสดี ประกอบท่าทาง
เวลา 10.05 น.
3.สาระอาชีพ
4.สาระแหล่งเรียนรู้
2.สะท้อนท้องถิ่น
5.สาระวัฒนธรรมท้องถิ่น
1.สะท้อนจังหวัด
เวลา 11.04 น. คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2560 สำหรับเด็กปฐมวัย 3-6 ปี
เวลา 11.07 น.เสนอสไลต์ภูมิปัญญา 4 ภาคของไทย
ภาคเหนือ
ประเพณีปอยแก้ว
ประเพณีตานตุง
ประเพณียิ่เป็ง
ภาคใต้
ชักพระหรือลาก พระวันออกพรรษา
ประเพณีแข่งตีโพน สตูน
ภาคอีสาน
บุญบั้งไฟ จังหวัดยโสธร
ผีตาโขน จังหวัดเลย
ประเพณีไหลเรือไฟ จังหวัดนครพนม
ภาคกลาง
ประเพณีตักบาตรเทโว
ประเพณีรับบัว
ประเพณีตักบาตรพระร้อยองค์
เวลา 11.25 น. ภูมิปัญญาท้องถิ่นชมไอเดียการสร้างสรรค์ลันตาบาติก จังหวัดกระบี่
เวลา 11.30 น. มาลัยไม้ไผ่
เวลา 11.20 น. ชมวิดีทัศน์นางผมหอม
เวลา 11.43 น. การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา