Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ห้องเรียนปฐมวัย - Coggle Diagram
การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ห้องเรียนปฐมวัย
ช่วงเช้า
เวลา 08.58 น. นักศึกษาชั้นปีที่ 3 และชั้นปีที่ 4 เข้าร่วมการอบรม และทักทายสวัสดีและประกอบท่าทาง
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ โดยการจัดกิจกรรมการละเล่น หมากเก็บ สำหรับเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 3
เวลา 10.05 น.
2.สะท้อนท้องถิ่น
3.สาระอาชีพ
สะท้อนจังหวัด
4.สาระแหล่งเรียนรู้
5.สาระวัฒนะธรรมท้องถิ่น
เวลา 11.05 น. คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2560 สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี
เวลา 11.08 น. เสนอสไลด์ภูมิปัญญา 4 ภาคของไทย
ภาคเหนือ
ประเพณียี่เป็ง
ประเพณีตานดุง
ประเพณีปอยแก้ว
ภาคอีสาน
บุญบั้งไฟ จังหวัดยโสธร
ประเพณีไหลเรือไฟ จังหวัดนครพนม
ผีตาโขน จังหวัดเลย
ภาคใต้
ประเพณีแข่งตีโพน
ชักพระหรือลากพระออกพรรษา
ภาคกลาง
ประเพณีรับบัว
ประเพณีตักบาตรพระร้อย
ประเพณีตักบาตรเทโว
ช่วงเวลา 11.20 น. ชมวิดีทัศน์นางผมหอม
เวลา 11.25 น ชมวิดีทัศน์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ชมไอเดียการสร้างสรรค์ลันตาบาติก
เวลา 11.31 มาลัยไม้ไผ่
เวลา 11.42 น. การประยุกต์ใช้๓ูมิปัญญษ
ช่วงบ่าย
13.20 น. เข้าเรียน
ช่วงเวลา 13.27 น.เพลงอนุบาลยิ้ม พร้อมประกอบท่าทาง
ช่วงเวลา 13.35 น. จากหลักสูตรสู่บริบทการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ช่วงเวลา 13.48 น. การจัดทำหน่วยการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย 8 ขั้น
ขั้นที่ 3 วิเคราะห์และกำหนดคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ขั้นที่ 4 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ขั้นที่ 2 ตัดสินใจเลือกประเภทการจัดประสบการณ์บูรณาการ
ขั้นที่ 5 ลำดับความสำคัญ
ขั้นที่ 1 ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัย
ขั้นที่ 6 เขียนแผนการจัดประสบการณ์
ขั้นที่ 8 ปรับปรุง แก้ไข
ขั้นที่ 7 ประเมินผล
ช่วงเวลา 13.45 น. การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
ช่วงเวลา 15.00 น. ฝีกกระบวนการคิดทำแผนการสอนและนำเสนอแผน