Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 การแก้ปัญหาความขัดแย้ง - Coggle Diagram
หน่วยที่ 2
การแก้ปัญหาความขัดแย้ง
ทักษะการสร้างสัมพันธภาพและ
ทักษะการสื่อสารความเข้าใจ
ทักษะการสื่อสารความเข้าใจ
ทักษะการฟัง
การใช้คำพูด ผู้ฟังควรจับใจความเนื้อหาให้ได้ ทั้ง5ประเด็นหลัก
การใช้น้ำเสียงสีหน้าและท่าทางบ่งบอกความรู้สึกของผู้พูด
การทวนเนื้อหา
เป็นการพูดทบทวนในเนื้อหาที่เราฟัง
เพื่อแสดงให้ผู้สนทนารู้ว่าเราสนใจและเข้าถึงในสิ่งที่พูด
ความใส่ใจ
ให้ความสำคัญและให้เกียรติต่อผู้สนทนา
การสะท้อนความรู้สึก
เป็นการจัดความรู้สึกของคู่สนทนาซึ่งอาจเข้าใจได้จากเนื้อหาที่สนทนา
การสังเกตสีหน้า ท่าทาง และน้ำเสียง
ทักษะในการสร้างสัมพัทธภาพเพื่อให้เกิดความมั่นคง
ความไว้วางใจ
เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
เพื่อลดความรู้สึกกลัวและความกังวลทำให้กล้าเปิดเผยตัวเองมากขึ้น
การเปิดเผยตนเองและไว้ใจซึ่งกันและกัน
ช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจปฏิกิริยาชี้บ่งความพอใจ ไม่พอใจ
ที่ตนมีต่อสถานการณ์นั้นนั้นและทำให้ผู้อื่นรู้จักเรามากขึ้น
การเล่าหรือบอกความไม่สบายใจของตนเองกับผู้อื่น
ช่วยให้เจ้าตัวมองเห็นปัญหาของตัวเองชัดขึ้นเราสามารถแสดง
ความห่วงใยปลอบโยนให้กำลังจัยจะทำให้สัมพันธภาพลึกซึ้งยิ่งขึ้น
ความสามารถในการตัดสินใจกับการแก้ปัญหา
การประเมินสถานการณ์เพื่อเข้าใจปัญหา
ประเมินสถานการณ์ที่เป็นอยู่ในปัจจุบันดู
ว่ามีการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อการดำรงชีวิตอย่างไร
ประเมินโดยการเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบทำให้เห็นความแตกต่างที่เกิดขึ้นซึ่งทำได้ดังนี้ การเอาใจเขามาใส่ใจเราลองปฏิบัติต่อผู้อื่นเช่นเดียวกับที่ต้องการให้ผู้อื่นปฏิบัติต่อเรา ลองสวมบทบาทเป็นอีกฝ่าย
ประเมินโดยการสังเกตปฏิกิริยาตอบสนองของผู้อื่น
และคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
เข้าใจปัญหา
ใช้ใช้หลักอริยสัจ4 เช่น ทุกข์ รู้ว่าปัญหาคืออะไร
สมุทัย หาสาเหตุของปัญหา
นิโรธ กำหนดเป้าหมาย
มรรค ปฏิบัติตามขั้นตอนที่วางไว้ เป็นต้น
ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกันลด
และแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
ความขัดแย้งระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว
ผลของความขัดแย้ง
เกิดความสะเทือนอารมณ์ ก่อให้เกิดความกระวนกระวายใจ
เป็นผลเสียต่อระบบการทำงานของร่างกาย การขัดแย้งในครอบครัวสุขภาพจิตเสื่อมโทรม
แนวทางแก้ไขปัญหา
พิจารณาถึงปัญหา การนัดหมายเวลา อธิบายถึงปัญหาและความต้องการของตัวเองให้อีกฝ่ายทราบ ตรวจสอบความเข้าใจของอีกฝ่าย เปิดโอกาสหาแนวทางที่จะจัดการความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
สาเหตุ
ช่องว่างระหว่างวัย การปรับตัวไม่ทันตามความเจริญของวัยรุ่น
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลง วัยรุ่นรักอิสระ ท้าทายอำนาจภาพรวมของสมัยก่อนของพ่อแม่แตกต่างจากภาพรวมในปัจจุบัน
ความขัดแย้งระหว่างนักเรียนและเยาวชนในชุมชน
สาเหตุ
การอยู่ในสภาพแวดล้อมแตกต่างกัน
การมีผลประโยชน์ขัดกัน การมีอคติ
ผลของความขัดแย้ง
ผลดี : ตะหนักและรับรู้ในปัญหาที่เกิดขึ้น สร้างความรู้สึกร่วม
ก่อให้เกิดการเรียนรู้และปรับปรุงพฤติกรรม เพิ่มวุฒิภาวะให้กับเยาวชนความขัดแย้งต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
ผลเสีย : สัมพันธภาพระหว่างบุคคลเสื่อมลง อาจก่อให้เกิดความรุนแรงทะเลาะวิวาท ผลกระทบด้านจิตใจ เกิดการต่อต้านทางลับและเปิดเผย
อาจทำให้เกิดปัญหาอื่นๆตามมาภายหลัง
แนวทางแก้ไขปัญหา
การเจรจา การใช้บุคคลที่3เพื่อทำหน้าที่ในช่วยไก่เกลียข้อขัดแย้ง
แก้ไขความขัดแย้งโดยสันติไม่ใช้ความรุนแรง
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
ความหมาย
ความขัดแย้งระหว่างบุคคลสองคนขึ้นไปเกิดจากค่านิยม
ความเชื่อ ทัศนคติ และเป้าหมายที่ไม่สอดคล้องกัน
สาเหตุ
ความคิดเห็น วิธีการคิด การรับรู้ ค่านิยมที่แตกต่างกัน
ความขัดแย้งเนื่องจากอคติส่วนตัวและ
ความขัดแย้งเนื่องจากผลประโยชน์