Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 ระบบทางเดินปัสสาวะ, ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ,…
บทที่ 7 ระบบทางเดินปัสสาวะ
ความผิดปกติของการขับถ่ายปัสสาวะ
ลักษณะความผิดปกติ
ของการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัสสาวะน้อย
ปัสสาวะมาก
ปัญหาการกรองผิดปกติ
Acute and chronic renal failure
ปัญหาการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
Urinary Tract Infection (UTI)
Cystitis
Pyelonephritis
พยาธิสรีรภาพของผู้ป่วยที่มีความผิดปกติ
ในการขับถ่ายปัสสาวะ
การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นเหนือตำแหน่งการอุดกั้น
พองตัวออก (hypertrophy)
การเปลี่ยนแปลงความผิดปกติ
อาการและอาการแสดงอาการปวด
ถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด (hematuria)
ไม่ถ่ายปัสสาวะเลย (anuria)
ปัสสาวะน้อย (oliguria)
ถ่ายปัสสาวะบ่อย (frequency of urine)
การปวดถ่ายปัสสาวะ (painful urination)
การถ่ายปัสสาวะล้าบาก (difficulty urination)
การถ่ายปัสสาวะไม่ออก (retention of urine)
ไตวายเฉียบพลัน (acute renal failure)
จำแนกตามพยาธิสภาพได้ 3 ระดับ
Prerenal acute renal failure
Intrinsic acute failure
Post renal acute renal failure
พยาธิสรีรภาพของภาวะไตวายเฉียบพลัน
แบ่งตามพยาธิสภาพได้ 3 ระดับ
ระยะเริ่มแรก (initial phase)
ระยะที่มีการท้าลายของเนื้อไต (maintainance)
ระยะที่ไตเริ่มฟื้นตัว (recovery phase)
การรักษาภาวะไตวายเฉียบพลัน
การรักษาผู้ป่วยจากสาเหตุก่อนไต
การรักษาผู้ป่วยจากสาเหตุที่ไต
แบ่งการรักษาออกเป็น 2 อย่างคือ
การรักษาแบบประคับประคอง เช่น
สารน้้าและสารอิเลคโตรลัยท์ อาหาร
การรักษาด้วยการทำไดอะลัยสิส
การวางแผนการพยาบาล
ผู้ป่วยไตวายเฉียบพลัน
ภาวะความไม่สมดุลของน้้าและโซเดียม เนื่องจากไตเสื่อมหน้าที่
ภาวะโปแตสเซียมในเลือดสูง และภาวะความเป็นกรด เนื่องจากไตเสื่อมหน้าที่
ภาวะติดเชื้อเนื่องจากร่างกายมีความต้านทานต่้า
เสี่ยงต่อภาวะหัวใจ เนื่องจากภาวะแทรกซ้อนของไตเสื่อมหน้าที่ท้าให้เกิดภาวะเยื่อหุ้มหัวใจ อักเสบ
ภาวะวิตกกังวล กลัว เนื่องจากขาดความรู้เรื่องภาวะเจ็บป่วยและการรักษา
ภาวะขาดสารอาหาร เนื่องจากมีการสลายตัวของโปรตีน และผลของการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ และอาเจียน (จากภาวะยูรีเมีย)
ไตวายเรื้อรัง (chronic renal failure)
สาเหตุไตวายเรื้อรัง
กลุ่มอาการเนฟโฟติคกลายเป็นหลอดเลือดฝอยไตอักเสบเรื้อรัง (chronic glomerulonephritis)
กรวยไตอักเสบเรื้อรัง (chronic pyelonephritis)
โรคหลอดเลือด ได้แก่ หลอดเลือดแดงที่ไตตีบ (renal artery stenosis) ความดันโลหิตสูงไม่ ทราบสาเหตุ
มีความผิดปกติของไตแต่ก้าเนิด (polycystic kidney)
การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ เช่น นิ่วในไต, ภาวะแคลเซียมสูงในกระแสเลือด ต่อมลูกหมากโต
โรคที่มีผลทั่วระบบ (systemic disease) เช่น SLE Glomerulosclerosis, meloidosis, multiplemyeloma,
ไตวายเรื้อรัง
แบ่งเป็น 5 ระยะ
1.ไตเริ่มเสื่อม
ไตเสื่อมสมรรถภาพ (renal insufficiency)
ไตเสื่อม
ไตเริ่มวาย
5.ไตวายระยะสุดท้าย
การรักษาไตวายเรื้อรัง
จะเน้นเรื่องการรักษา
แบบประคับประคอง
(conservative treatment)
อาหาร (diet intervention)
การจำกัดน้้า (fluid restriction)
ยา (Medication therapy)
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
และการพยาบาล
เหนื่อยง่าย / เซลล์ของร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ / ความสามารถในการดูแล ตัวเอง ลดลง เนื่องจากมีเลือดคั่งที่ปอด / ซีด / เลือดเป็นกรดจากไตเสื่อมหน้าที่
เสี่ยงต่อภาวะประสิทธิภาพการท้างานของหัวใจลดลง เนื่องจากโปตัสเซียมในเลือดสูงวิกฤต
เสี่ยงต่อภาวะไตเสื่อมหน้าที่มากขึ้น จากภาวะความดันโลหิตสูง
เสี่ยงต่อของเสี่ยคั่งหรือมีการสลายโปรตีนมากขึ้นจากได้รับแคลอรีไม่เพียงพอ
เสี่ยงต่อภาวะซีดเพิ่มขึ้น เนื่องจากสูญเสียเลือดจากระบบทางเดิน
มีโอกาสติดเชื้อง่ายจากภูมิต้านทานต่้าอาหาร / จากปริมาณเกร็ดเลือดน้อยลง
เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ ข้อติดแข็ง ปอดอักเสบ เนื่องจากระดับความรู้สึกตัวลดลงจากมี ภาวะของเสียคั่งในเลือด
วิตกกังวลต่อโรคที่เป็นอยู่ / ขาดความรู้ในการปฏิบัติตน
การเตรียมตรวจพิเศษ
ในระบบขับถ่ายปัสสาวะ
อุตราซาวท์ (Ultrasonography)
การถ่ายรังสีธรรมดา (Kidneys, Ureters, Bladder x – ray)
การรักษา
การรักษาเฉพาะเจาะจงตามชนิดของโรคไตเรื้อรัง
ชะลอการเสื่อมของไต
ประเมินและรักษาโรค
ป้องกันและรักษาผลแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงานของไตลดลง
ป้องกันและรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด
เตรียมผู้ป่วยสำหรับกรณีไตวายเรื้อรัง
การรักษาทดแทนไต
หลักส้าคัญในการรักษา เพื่อแก้ไขระบบทางเดินปัสสาวะให้คืนสภาพปกติหรือไม่เสียหายมากกว่าเดิม
การแก้ไขเหตุของการอุดกั้น
และการคั่งค้างของน้้าปัสสาวะ
การผ่าตัดเอานิ่วออกจากไต (nephrolithotomy)
การผ่าตัดเอานิ่วออกจากกรวยไต (pyelolithotomy)
การผ่าตัดไตออกบางส่วน (partial nephrectomy)
หรือตัดออกทั้งหมด (total nephrectcmy)
ระบายน้้าปัสสาวะออกจากระบบทางเดินปัสสาวะ
ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ Urinary Tract infactions
การตรวจเพื่อการวินิจฉัยการติดเชื้อใน
ระบบทางเดินปัสสาวะ (Diagnosis)
ใช้แถบวัด nitrite (indirect
dipstick tests) มี nitrite เป็นบวกหมายถึงมีแบคทีเรียในปัสสาวะ
เก็บปัสสาวะ (Urine Analysis :
UA) ขุ่น, WBC สูง, RBC สูง
การเพาะเชื้อจากปัสสาวะ(Urine
culture) ทางเดินปัสสาวะอักเสบ
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิด UTI
นิ่วหรือการอุดกั นทางเดินปัสสาวะ
Vesico-ureteral reflux (VUR) ปัสสาวะไหลย้อนกลับ
Incomplete emptying of bladder ปัสสาวะที่ค้างจะเป็นตัวเพาะเชื
เบาหวาน
อายุ
พฤติกรรม
Catheterization โอกาสติดเชื อจะเพิ่มขึน
การสูบบุหรี่
อาการและอาการแสดง
ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนกลาง
ปสสาวะขัด (dysuria)กลั นปสสาวะ
ไมอยู(urgency)ปสสาวะถี่ (frequency)
ปวดหนวงบริเวณทองนอย (suprapubic
heaviness) และ อาจพบวามีเลือดปน
ออกมาในปสสาวะได (gross hematuria)
ติดเชื้อในระบบทางเดินปสสาวะสวนบน
มีอาการเชนเดียวกันกับ lower tract infection
รวมถึงปวดบั้นเอว frank pain
ตรวจร่างกายจะ พบ costrovertebral tenderness)
มีไข้คลื่นไสอาเจียน และอ่อนแรง ร่วมด้วย
คำแนะนำในการป้องกันการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8 แก้วเพื่อช่วยขับเชื้อโรคออกจากทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะทุก 2-4 ชั่วโมงเพื่อลดการสะสมของแบคทีเรีย
การอาบน้ำไม่ควรแช่ในอ่างอาบน้ำ
เมื่อมีความผิดปกติในการขับถ่าย
การเพิ่มความเป็นกรดของน้ำปัสสาวะ
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ุ
สาเหตุของความผิดปกติในระบบทางเดินปัสสาวะ
การติดเชือ
การบาดเจ็บต่อระบบทางเดินปัสสาวะ
การอุดกั นภายในระบบทางเดินปัสสาวะ
การเกิดพยาธิสภาพต่างๆ เช่น โรคไต โรคหัวใจ หรือ โรคหลอดเลือดที่ท้าให้เลือด
ระบบฮอร์โมนที่ผิดปกติเช่นแอนติไดยูเรติกฮอร์โมนท้าให้มีการดูดกลับน ้าลดลง
ประสาทการควบคุมการขับถ่ายที่ผิดปกติ
ความสามารถในการเคลื่อนไหวร่างกาย
กรวยไตอักเสบ (Pyelonephritis)
การติดเชื้อแบคทีเรียที่เกิดขึ้นในบริเวณกรวยไต
กรวยไตอักเสบชนิดเฉียบพลัน (Acute Pyelonephritis)
กรวยไตอักเสบชนิดเรื้อรัง (Chronic pyelonephritis)
กรวยไตอักเสบจัดเป็นการอักเสบของทางเดินปัสสาวะ ซึ่งเป็นการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะตอนบน
อาการของโรคกรวยไตอักเสบ
ปวดบริเวณสีข้าง หรือบั้นเอว
อาจจะปวดร้าวลงมาที่บริเวณขาหนีบ
ไข้สูง
หนาวสั่น
ปัสสาวะมักมีลักษณะขุ่นขาว
คลื่นไส้ อาเจียน
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ซักประวัติอาการ
การรักษาโรคกรวยไตอักเสบ
ผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรง แพทย์ให้การรักษษประคับประคองไปตามอาการ
ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง ถ้ารับประทานยาไม่ได้ อาจต้องให้ยาทางหลอดเลือดดำ
โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
สาเหตุ
การติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินปัสสาวะ
โดยเฉพาะเชื้อแบคทีเรีย เอสเชอริเชีย โคไล หรือ อีโคไล
อาการของโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ปวดปัสสาวะบ่อย
ปวดแสบปวดร้อน ขณะปัสสาวะ
ปัสสาวะเป็นเลือด
ปวดท้องน้อย
การวินิจฉัยโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ประวัติการเจ็บป่วย
ตรวจร่างกาย
ตรวจปัสสาวะ
การส่องกล้อง (Cystoscopy)
การถ่ายภาพทางรังสี (Imaging Tests)
การรักษาโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ทานยาปฏิชีวนะเป็นหลัก เช่น ยาไตรเมโทพริมหรือยาไนโตรฟูแรนโทอิน วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 3 วัน
การป้องกันการเกิดกระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ดื่มน้ำในปริมาณที่เหมาะสม 6 -10 แก้ว แล้วแต่ความ
ต้องการของร่างกายของแต่ละคน
ห้ามกลั้นปัสสาวะ
ปัสสาวะหลังมีเพศสัมพันธ์ทุกครั้ง
หน่วยไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute glomerulonephritis/AGN)
อาการ
มีเม็ดเลือดแดงและโปรตีนมากผิดปกติในปัสสาวะ (hematuria & proteinuria)
ของเสียไนโตรเจนคั่งในเลือด (azotemia)
การคลั่งของเกลือและน้ำในร่างกาย (edema)
สาเหตุ
บีตาฮีโมไลติกสเตรปโต
ค็อกคัส กลุ่มเอ (beta-hemolytic streptococcus group A)
อาการและอาการแสดงทางคลินิก
ปัสสาวะออกมาเป็นสีแดงเหมือนน้ำล้างเนื้อ
จำนวนปัสสาวะมันออกน้อยกว่าปกติ
อาจพบอาการบวมที่หน้า หนังตา เท้า และ ท้อง
มักมีอาการปวดศีรษะ มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
ถ้าเป็ นรุนแรง อาจมีอาการปัสสาวะออกน้อย หอบเหนื่อย หรือชัก
การรักษา
ถ้ามีอาการชักหรือหอบ ให้ฉีดไดอะซีแพม และฟูโรซีไมด์ เข้าหลอดเลือดด้า
หากสงสัยควรส่งโรงพยาบาล มักจะวินิจฉัยโดยการตรวจปัสสาวะซึ่งจะพบ WBC RBC การตรวจอาจพบความผิดปกติ เช่น BUN ครีตินิน สูง
ข้อแนะนำ
โรคนี้ส่วนใหญ่จะหายได้ อาการทั่วไปจะดีขึ้น ภายใน 2-3 สัปดาห์
บางรายแม้ว่าอาการจะหายดีแล้ว แต่เมื่ออายุมากขึ้น อาจกลายเป็นความดันโลหิตวูงหรือภาวะไตวาย
การป้องกัน
เมื่อเป็นทอนซิลอักเสบ แผลพุพอง เนื้อเยื่อใต้ผิวหนังชั้นลึกอักเสบ หรือไฟลามทุ่งควรกินยาปฏิชีวนะ เช่น เพนิซิลลินวี อีริโทรไมชิน ติดต่อกันอย่างน้อย 10 วัน เพื่อป้องกันมิให้เกิดโรคหน่วยไตอักเสบแทรกซ้อน
กลุ่มอาการโปรตีนรั่วในปัสสาวะ (Nephrotic Syndrome)
Nephrotic Syndrome NS
(เนโฟรติก ซินโดรม)
กลุ่มอาการโปรตีนรั่วในปัสสาวะ จะมีอาการบวมน้ำ
โดยเฉพาะบริเวณเท้า ข้อเท้า
สาเหตุ
กรวยไตเป็นแผล ซึ่งอาจมีสาเหตุจากโรคบางชนิด ความบกพร่องทางพันธุกรรม หรืออาจเกิดขึ้นโดยไม่มีสาเหตุ
การกรองไตผิดปกติ จึงส่งผลให้ไตทำงานผิด
เยื่อบุผิวภายในกรวยไตหนาตัวขึ้น ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากบางโรค เช่น โรคไวรัสตับอักเสบ บี โรคมาลาเรีย และโรคมะเร็ง เป็นต้น
กลุ่มอาการอะมีลอยโดซิส (Amyloidosis) เกิดขึ้นเมื่อมีการสะสมของสารโปรตีนอะมีลอยด์ในไต (Amyloid) จนส่งผลให้ไตทำงานผิดปกติ
โรคแพ้ภูมิตัวเอง (SLE) เพราะโรคนี้อาจส่งผลกระทบต่อไตอย่างร้ายแรง
โรคไตจากเบาหวาน เพราะโรคเบาหวานอาจทำให้ไตถูกทำลาย ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อกรวยไต
ลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดไต
การใช้ยาบางชนิด เช่น ยาแก้อักเสบ และยาต้านการติดเชื้อ
อาการ
มีอาการบวมบริเวณรอบดวงตา ท้อง แขน ขา ข้อเท้า และเท้า
น้าหนักตัวเพิ่มขึ้น
ปัสสาวะเป็นฟอง
ปวดปัสสาวะน้อยมาก
อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร
ท้องเสีย
การวินิจฉัย
ซักประวัติการเจ็บป่วย
ตรวจร่างกาย
ตรวจปัสสาวะโดยเก็บตัวอย่างปัสสาวะใน24 ชั่วโมง เพื่อตรวจปริมาณของโปรตีนที่ปนอยู่ในน้ำปัสสาวะ
ตรวจเลือดเพื่อหาระดับโปรตีนในเลือด
เก็บตัวอย่างชิ้นเนื้อไปส่งตรวจ
การรักษา
รักษาตามอาการ
ยาควบคุมความดันโลหิต
ยาลดคอเลสเตอรอล
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
ยากดภูมิคุ้มกัน
ยาขับปัสสาวะ
ไตวายระยะสุดท้าย (end stage renal disease; ESRD)
ต้องได้รับการบำบัดทดแทนไต (renal replacement therapy; RRT)
ได้แก่ ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม การล้างไตทางหน้าท้อง หรือการผ่าตัดปลูกถ่ายไต
โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ (urolithiasis)
สาเหตุของการเกิดนิ่ว
กรรมพันธุ์
ความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
ความผิดปกติของต่อมพาราไทรอยด์
การอักเสบติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร
ดื่มน้ำน้อย หรือการสูญเสียน้ำจากร่างกายมาก
รับประทานอาหารที่มีกรดยูริกหรือสารออกซาเลตมากเกินไป
อาการ
ปัสสาวะลำบากแสบขัด
ปัสสาวะไม่ออกหรือมีเลือดปน
ปวดบริเวณบั้นเอวขึ้นอยู่กับตำแหน่งของนิ่ว
การรักษา
การรับประทานยาละลายนิ่ว เหมาะสำหรับนิ่วชนิดยูริกที่สามารถละลายได้โดยการให้ยา
การสลายนิ่วโดยการใช้คลื่นกระแทก (ESWL:Extracorporeal Shock Wave Lithotripsy)
การรักษาผู้ป่วยนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
PYELOLITHOTOMY
NEPHROLITHOTOMY
URETEROLITHOTOMY
SUPRAPUBIC CYSTOLITHOTOMY
NEPHRECTOMY
โรคต่อมลูกหมากโต BPH (Benign Prostate Hyperplasia)
พยาธิสรีรภาพ
ระยะท้าย การอุดกั้นมากขึ้นและเป็นเวลานาน
ระยะแรก ต่อมลูกหมากโตและอุดกั้นเล็กน้อย
สาเหตุ
ยังไม่มีหลักฐานการยืนยันถึงสาเหตุที่แท้จริงของโรคต่อม
ลูกหมากโตแต่สัมพันธ์กับระดับเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนเพศชาย
อาการของโรคต่อมลูกหมากโต
ซึ่งจะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มอาการ
อาการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะหยดตอนท้าย
ปัสสาวะออกช้า
เบ่งปัสสาวะ
ลำปัสสาวะสะดุด
ปัสสาวะไม่พุ่ง
อาการระคายเคืองทางเดินปัสสาวะ
อาการปัสสาวะเร่งรีบ
อาการที่ต้องตื่นมาปัสสาวะตอนกลางคืน
อาการปัสสาวะบ่อย
การวินิจฉัยโรคต่อมลูกหมากโต
ตรวจปัสสาวะ
ตรวจเพาะเชื้อจากปัสสาวะ
ตรวจร่างกาย
ทดสอบวัดอัตราการไหลของของปัสสาวะ
ซักประวัติ
การตรวจคัดกรองหามะเร็งต่อมลูกหมาก
การส่องกล้องผ่านทางท่อปัสสาวะ
การรักษาโรคต่อมลูกหมากโต
มีอาการเล็กน้อยไม่จำเป็นต้องรักษา
รักษาโดยใช้ยา
รักษาโดยการผ่าตัดด้วยกล้องคว้านต่อมลูกหมาก
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
ประเมินภาวะตกเลือดโดยบันทึกสัญญาณชีพ สังเกตลักษณะ จำนวน สีของปัสสาวะ และบีบรูดสายยาง
ดูแลให้ I.V. FLUID
จัดท่านอนราบ 8 ชั่วโมง ภายหลังการทำ SPINAL BLOCK วางขาราบ
เมื่อผู้ป่วยกลับบ้านแล้ว สอนเรื่องการปฏิบัติตัว
TUR – P WITH CONTINUOUS BLADDER IRRIGATION (CBI) ผู้ป่วย
การบาดเจ็บอวัยวะทางเดินปัสสาวะ (KUB INJURY)
ในผู้ใหญ่ที่ได้รับอุบัติเหตุหรือบาดเจ็บของทางเดินปัสสาวะเราพบว่ามี 2 อย่าง
Penetrating injury เป็นการบาดเจ็บจากการถูกยิงหรือแทง
Blunt injury เป็นการบาดเจ็บจากการกระแทกโดยตรงจากแรงเฉื่อยหรือการกระชาก
การประเมินทางคลินิก
Hypotension ความดันโลหิตต่ำซึ่งมีความสำคัญมาก
ในการบ่งบอกระดับความรุนแรงของอวัยวะภายใน
Hematuria คือการมีปัสสาวะเป็นเลือด
รังสีวินิจฉัยมีดังต่อไปนี้(Radiographic investigation)
การตรวจด้วยเครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์( CT SCAN)
การตรวจเอ็กซเรย์ฉีดสี(Intravenous pyelogram)
การตรวจสแกนโดยใช้พลังงานแม่เหล็ก(MRI)
การฉีดสีเอ็กซเรย์หลอดเลือด( Angiography)
อัลตราซาวด์(Ultrasound)
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
การดูแลทางด้านจิตใจ
การเตรียมความสะอาดของลำไส้
การเตรียมผิวหนังสำหรับทำผ่าตัด
การเตรียมอื่นๆทำ เช่นเดียวกับการพยาบาลผู้ป่วยก่อนทำผ่าตัด
ทางเดินปัสสาวะส่วนบน
หลังผ่าตัด
ความสมดุลของน้ำและอิเลคโตรไลต์เนื่องจากผู้ป่วยต้องงดน้ำงดอาหาร
การดูแลให้มีการไหลของปัสสาวะหรือสารเหลวที่ออกมาทางสายยางชนิดต่าง ๆ ตลอดเวลา ป้องกันการอุดตันของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ดูแลสายยางไม่ให้ดึงรั้ง
ตรวจดูการไหลของปัสสาวะหรือสารเหลว
ที่ออกมาทุก 1 ชั่วโมง ในระยะ 36 – 48 ชั่วโมง
ผู้ป่วยหลังท าผ่าตัดกระเพาะปัสสาวะออกเป็นบางส่วน
บันทึกสีและจำนวนปัสสาวะที่ออกมาอย่างถูกต้อง
การทำPERINEAL EXERCISE ในรายที่คาสายยางสำหรับสวนปัสสาวะไว้นาน
การดูแลเกี่ยวกับ ILEOBLADDER
ทำความสะอาดผิวหนังรอบๆ รูเปิดให้แห้ง และสะอาดอยู่เสมอ
บันทึกจำนวนปัสสาวะที่ออกมาทางรูเปิดให้ถูกต้องและแน่นอน
เนื้องอกของกระเพาะปัสสาวะ(BLADDER TUMOR)
สาเหตุ
สารก่อมะเร็ง (CARCINOGEN) ในน้ำปัสสาวะ
ระยะของมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
STAGE O เป็นเนื้องอกในระยะเริ่มแรก ซึ่งเกิดขึ้นที่ชั้น MUCOSA
STAGE A เป็นระยะที่เนื้องอกลุกลามไปถึงชั้น SUBMUCOSA
STAGE B1 เป็นระยะที่เนื้องอกลุกลามไปถึงครึ่งในของชั้นกล้ามเนื้อ (SUPERFICIAL)
STAGE B2 เป็นระยะที่เนื้องอกแทรกลึกไปถึงครึ่งนอกของกล้ามเนื้อ
STAGE C เป็นระยะที่เนื้องอกลุกลามออกนอกชั้นของกล้ามเนื้อไปถึงชั้น SEROSA
STAGE D เป็นระยะสุดท้ายของเนื้องอกที่ลุกลามออกนอกผนังกระเพาะปัสสาวะ
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะปนเลือดโดยไม่เจ็บปวด
ถ่ายปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะลำบาก
หรือถ่ายปัสสาวะไม่ออกอย่างเฉียบพลัน
มีอาการปวดบั้นเอว
การวินิจฉัย
ซักประวัติและการตรวจร่างกาย
ตรวจปัสสาวะ UA
ตรวจ้ลือด CBC
cystoscopy เป็นการตรวจที่ส าคัญที่สุดในการวินิจฉัย
plain KUB
cystography จะได้ filling defect of bladder
IVP เพื่อดูความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะ
chest X – ray, lymphangiography
การรักษา
การรักษาโดยการผ่าตัด
TRANSURETHRAL RESECTION AND FULGURATION
PARTIAL OR SEGMENTAL CYSTECTOMY เป็นการตัดกระเพาะปัสสาวะออกบางส่วน
TOTAL CYSTECTOMY เป็นการตัดกระเพาะปัสสาวะออกทั้งหมด
BILATERAL CUTANEOUS URETEROSTOMY การผ่าตัดเอาหลอดไตมาเปิดที่หน้าท้องทั้งสองข้าง
การรักษารังสี (RADIATION THERAPY)
การใช้เคมีบำบัด (CHEMOTHERAPY)
การรักษาด้วยเลเซอร์โดยการใช้แสงเลเซอร์ที่ตำแหน่งเนื้องอก
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
อายุ
ปริมาณน้ำในร่างกายที่ได้รับ และการสูญเสียออกจากร่างกาย
การรับประทานอาหาร มีผลต่อความเป็นกรดด่างในน้ำปัสสาวะหรือการท้าให้เกิดพยาธิสภาพ
การได้รับยาบางอย่าง เช่น ไดยูเรติกดรัก ท้าให้มีการขับถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติ หรือยาลดความดันโลหิต
ภาวะทางจิตสังคม ความกลัวมีผลกระทบต่อการขับถ่าย สถานที่ ท่าทางที่ใช้
ความแข็งแรงของกล้ามเนื อบริเวณอุ้งเชิงกราน
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
กลไกการติดเชื้อ
ทางน้ำเหลือง (lymphatic route)
การแพร่กระจายโดยตรง(ascending route)
ทางกระแสเลือด (hematogenous route)