Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cabohydrate Metabolism - Coggle Diagram
Cabohydrate Metabolism
Metabolism Pathway
Glycolysis Pathway
มีเอนไซม์ชนิดต่างๆเร่งปฏิกิริยา
กระบวนการสลายน้ำตาล ศึกษาโดย เอ็นเด็น(Emden)
เมเยอร์ฮอฟ(Meyerhof)และพาร์เนส(Parnas)ชื่ออีกชื่อหนึ่งว่าEMP pathway
เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดโดยเกิดในไซโทพลาสซึมของเซลล์
Kreisier' Cycle
เป็นวัฎจักรศูนย์กลางของการเปลี่ยนสารอาหารคาร์โบไฮเดรตไขมันและโปรตีนเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ น้ำและพลังงาน(ATP)
โดยมีแอซิทิลโคเอะและสารอินเทอมีเดียดภายในวัฎจักรเครบส์เป็นจุดเปลี่ยน(1โมเลกุลของแอซีทิลโคเอจะให้พลังงาน(2ATP)
Gluconeogenesis
เป็นวิถีเเมแทบอลิซึมที่เป็นการสร้างกลูโคสจากสารคาร์บอนที่ไม่ใช่คาร์โบไฮเดรต เช่น แลกเตด กลีเซอรอลและกรดอะมิโนกลูโคจีนิก
การสร้างกลูโคสเป็นหนึ่งในสองกลไกหลักที่มนุษย์และสัตว์อื่นหลายชนิดใช้ควบคุมระดับกลูโคสในเลือดไม่ให้ต่ำเกินไป
การสร้างกลูโคสเป็นกระบวนการที่พบทั่วไปทั้งในพืช สัตว์ ฟังใจ แบคทีเรียและจุลินทรย์อื่นๆ
ในสัตว์กินพืชสร้างกลูโคสเกิดในตับเป็นหลักและไตส่วนนอก
Pentose Phosphate Pathway
สร้างNADPHซึ่งใช้เป็นสารให้พลังงานและReductantในกระบวนการสังเคราะห์สารอื่นๆ
สร้างRibulose-5-Phosphate ซึ่งจำเป็นต่อการสังเคาะห์กรดนิวคลิอิค
สร้างErythrose-4-Phosphateซึ่งจำเป็นต่อวิถีShikimicacidซึ่งใช้สร้างสารที่มีAromatic ring
Glycogen Metabolism
ไกลโคเจน เป็นคาร์โบไฮเดรตสะสมที่สำคัญของสัตว์ส่วนใหญ่สะสมในตับและกล้ามเนื้อ
ในตับของคนที่ได้รับอาหารเพียงพอจะมีไกลโคเจนสะสมได้มากถึงร้อยละ 6-10ของน้ำหนักตับ
ในกล้ามเนื้อมีไกลโคเจนประมาณร้อยละ1ของน้ำหนักกล้ามเนื้อ>60%
การย่อยของคาร์โบไฮเดรต
การย่อยในปาก
การย่อยคาร์โบไฮเดรตเริ่มขึ้นที่ปากเมื่ออาหารถูกเคี้ยวให้มีขนาดเล็กลงและคลุกเคล้าด้วยน้ำลาย ในน้ำลายมีเอนไซม์ย่อยแป้งและไกลโคเจนให้โมเลกุลเล็กลงได้ เอนไซม์นี้ เรียกว่า อะไมเลสซึ่งย่อยคาร์โบไฮเดรตได้ดีในภาวะที่เป็นกลางหรือด่างอ่อนๆ
การย่อยในกระเพาะ
เมื่ออาหารที่เคี้ยวละเอียดแล้วเคลื่อนที่ไปที่กระเพาะ อะไมเลสยังคงย่อยแป้งและไกลโคเจนต่อไปอีกระยะหนึ่งช่วงเวลาขึ้นอยู่กับปริมาณอาหารในกระเพาะปกติประมาณครึ่งชั่วโมงเมื่อกรดเกลือเจือจางในกระเพาะทำให้อาหารที่รับประทานเข้าไปอยู่ในสภาวะกรดการย่อยคาร์โบไฮเดรตโดยอะไมเลสจากน้ำลายยุติลง กรดเกลือที่กระเพาะผลิตขึ้นเพื่อช่วยย่อยอาหารโปรตีนอาจย่อยซูโครส หรือน้ำตาลทรายเป็นกลูโคสและฟรุกโทสได้แต่ไม่มากนัก
การย่อยในลำไส้เล็ก
การย่อยคาร์โบไฮเดรตส่วนใหญ่เกิดขึ้นที่ลำไส้เล็ก เมื่ออาหารเหลวในสภาวะกรดเคลื่อนที่ไปถึงลำไส้เล็กตอนบน อาหารเหลวนี้กระตุ้นให้ต่อมในผนังเยื่อเมือกของลำไส้เล็กผลิตฮอร์โมนหลายชนิดเพื่อกระตุ้นให้ต่อมในตับอ่อนและในลำใส้เล็กผลิตเอนไซม์ฮอร์ดมนที่กระตุ้นให้ตับอ่อนผลิตเอนไซม์เพื่อย่อยคาร์โบไฮเดรต คือ ฮอร์โมนซีครีติน(secretin)และ แพนครีโอไซมิน (pancreozymin)
คาร์โบไฮเดรตในอาหารที่ร่างกายย่อยได้ส่วนใหญ่ คือ แป้ง น้ำตาล ไดแซคคาไรด์และไกลโคเจนซึ่งร่างกายย่อยได้ดีเช่นกัน
การดูดซึมคาร์โบไฮเดรต
การดูดซึมคาร์โบไฮเดรตที่ย่อยแล้วเกิดขึ้นที่ลำไส้เล็กโดยผ่านเข้าทางเยื่อเมือกของผนังลำไส้เล็กเข้าสู่หลอดเหลือดฝอยและเข้าสู่ระบบไหลเวียนของเหลือดดำในตับตามปกติ โมโนแซคคาไรด์เท่ารั้นที่ผ่านเข้าไปได้ แต่บางครั้งอาจมีไดแซคคาไรด์ เช่น ซูโครสเข้าไปได้ซึ่งร่างกายนำไปใช้ไม่ได้และขับออกทางไต :
โรคเบาหวาน
คือ โรคที่เกิดความบกพร่องของฮอร์โมนอินซูลิน ซึ่งผลิตจากตับอ่อนทำให้น้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ
โรคเบาหวานแบ่งออกเป็น4ชนิด
ชนิดที่1 เกิดจากเซลล์ตับอ่อนถูกทำลายโดยภูมิคุ้มกันของร่างกายทำให้ขาดอินซูลิน มักพบในเด็ก
ชนิดที่2 เป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุด เกิดจากภาวะดื้อต่ออินซูลิน มักพบในผู้ใหญ่หรือผู้ที่มีน้ำหนักเกิน หรืออ้วน
ชนิดที่3 โรคเบาหวานที่มีสาเหตุจำเพาะมีได้หลายสาเหตุ เช่น โรคของตับอ่อน โรคทางต่อมไร้ท่อหรือยาสเตียรอยด์ เป็นต้น
เป็นเบาหวานที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์มักเกิดในผู้ที่ไม่มีประวัติเป็นเบาหวานก่อนตั้งครรภ์พบในกลุ่มไตรมาสที่ 2-3
Glucose in the blood
Hypoglycemia
ร่างกายที่มีระดับน้ำตาลในเลือดน้อยกว่า 70มก/ดล จะเริ่มมีความผิดปกติทางระบบประสาท เกิดอาการใจสั่นอ่อนเพลีย
อาการน้ำตาลในเลือดต่ำ เหงื่ออก,ไม่มีแรง,เวียนศรีษะ,สับสน,ผิวหนังเย็น,หิวบ่อย,ขาดสติ,ตัวสั่น,ชัก,หัวใจเต้นเร็ว,อาการโคม่า
Hyperglycomia
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง,กระหายน้ำบ่อย,ปัสสาวะบ่อย,สายตาพร่ามัว,ตาลาย,ปวดศรีษะ,เป็นแผลแล้วแผลหายช้า
ร่างกายเกิดภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินกว่าเกณฑ์ค่าปกติ อาจจะส่งผลเสียร้ายแรงต่อสุขภาพได้ ร่างกายจะผลิตอินซูลินไม่พอ