Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพชุมชน (Community health assessment), เครื่องมือ -…
การประเมินภาวะสุขภาพชุมชน (Community health assessment)
ความหมาย
การศึกษารวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพอย่างเป็นระบบ เพื่อนำไปวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหาของคนในชุมชน
เครื่องมือศึกษาชุมชนโดยวิธีทางมานุษยวิทยา
:pencil2:แผนที่เดินดิน : สำรวจด้วยตาและบันทึกสิ่งที่เห็นลงบนกระดาษ [ปัจจุบันนิยมใช้ GPS,Google map]
:pencil2:ประวัติศาสตร์ชุมชน : ศึกษาเรื่องราวความเป็นมาของชุมชน ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง เพื่อให้เข้าใจความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชุมชนจากอดีตสู่ปัจจุบัน
:pencil2:ระบบสุขภาพชุมชน : การเก็บรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพในชุมชน เช่น วิธีการดูแลตนเองเมื่อเจ็บป่วย หรือ การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพตนเอง เช่น นวดจับเส้น ยาแผนโบราณ สมุนไพร
:pencil2:ผังเครือญาติ : รวบรวมข้อมูลของครอบครัวที่น่าสนใจโดยการวาดผังเครือญาติอย่างน้อย 3 รุ่น เพื่อช่วยให้รู้จักละเข้าใจสมาชิกแต่ละคนภายในบ้าน
:pencil2:ปฏิทินชุมชน : รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวิธีชีวิตของคนในชุชนในรอบปี ว่าชุมชนมีกิจกรรมอะไรบ้างช่วงเดือนไหน เกี่ยวข้องกับชุมชนอย่างไร
:pencil2:โครงสร้างองค์กรชุมชน : ศึกษาความสัมพันธ์ โครงสร้างด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมืองของชุมชน เพื่อให้เห็นความแตกต่างของชุมชน
:pencil2:ประวัติชีวิต : ศึกษาเรื่องราวชีวิตของคนในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยและพิการ และผู้นำชุมชน ซึ่งประวัติชีวิตจะเป็นเครื่องมือที่ทำให้บุคลากรทางสุขภาพมองเห็นรายละเอียดชีวิตของคน เข้าใจคนมากขึ้น
2. การวิเคราะห์ข้อมูล
การตรวจสอบหรือบรรณาธิกรข้อมูล
การแยกประเภทของข้อมูล
การคำนวนค่าทางสถิติ
การแจกแจงความถี่
1.การรวบรวมข้อมูล
ชนิดของข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริมาณ
ข้อมูลที่แสดงเป็นตัวเลข บอกจำนวน ความถี่ เช่น อายุ น้ำหนัก ส่วนสูง รอบเอว รายได้ของครอบครัว จำนวนบุตร
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
เป็นข้อมูลจากการรับรู้ หรือสังเกตของบุคคล นำเสนอในรูปแบบการอธิบาย เช่น ความรู้สึกต่าง ๆ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริการสุขภาพ เช่น โรงพยาบาล
วิธีในการเก็บข้อมูล
แบบสอบถาม
เหมาะสำหรับประชาชนที่อ่านเขียนได้ดี ใช้มากในการสอบถามความคิดเห็น ทัศนคติ ค่านิยม
1.ตอบง่าย มีลักษณะเป็นคำถามปลายปิด
2.ควรลำดับความต่อเนื่องของคำถาม
3.สั้นกะทัดรัด
4.ใช้ภาษาง่ายๆ ชัดเจน ทุกคนอ่านแล้วเข้าใจตรงกัน
5.มีการปรับปรุงแก้ไขก่อนนำมาใช้แล้ว
การทดสอบ
ก่อนการเก็บข้อมูลต้องอธิบายให้ผู้ทดสอบทราบถึงการนำข้อมูลไปใช้
การวัดความรู้
พัฒนาการ
ภาวะสุขภาพจิต
ระดับสติปัญญา
ภาวะสมองเสื่อม
แบบสัมภาษณ์
สัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้าง (Structure interview)
แบบฟอร์มที่มึการเตรียมการ ผู้ให้สัมภาษณ์ตอบคำถามเดียวกันและถามคำถามก่อนหลังเรียนตามลำดับเหมือนกัน
สัมภาษณ์ แบบไม่มีโครงสร้าง (Non-structure interiew)
การถามที่ได้ข้อมูลใกล้เคียงความจริงมากที่สุด มีเป้าหมายเฉพาะ ( Focus interiew) ไม่ต้องถามเหมือนกัน แะลมีอิสระในการในการเลือกคำถามให้เหมาะกับผู้สัมภาษณ์
การสังเกต
ข้อมูลที่เป็นจริงมากที่สุดเกี่ยวกับบุคคล หรือปรากฎการณ์ที่เกิดเป็นประจำ
คุณลักษณะของผู้สังเกต
มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลง มีความคิดรอบครอบ มีใจเป็นกลาง มีการสื่อสารที่ดี
การตรวจต่างๆ
การรวบรวมข้อมูลโดยตรงจากผู้ให้ข้อมูล
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจร่างกาย
แหล่งข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ
ข้อมูลจากเจ้าของโดยตรง
ข้อดี
ได้ตัวแปรตามที่ต้องการ
ควบคุมการเก็บบันทึกได้สมบูรณ์
ข้อเสีย
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายสูง
ข้อมูลต้องถามความจำย้อนหลังอาจเกิดข้อผิดพลาด
ข้อมูลทุติยภูมิ
จากผู้อื่นที่สำรวจไว้ก่อน หรือจาก บทความ สิ่งตีพิมพ์
ข้อดี
ไม่ต้องลงทุนมาก
บันทึกเหตุการณ์ขณะเกิดขึ้น
ข้อเสีย
ข้อมูลไม่สมบูรณ์
ต้องคัดลอกข้อความอีกครั้งอาจเกิดการผิดพลาด
แนวคิดที่เป็นฐานของการประเมินสุขภาวะชุมชน
1.กรอบแนวคิดของการประเมินสุขภาพ
1.1แนวคิดทางสังคม วิถีชีวิต วัฒนธรรม
1.2 แนวคิดระบาดวิทยา ปัญหาด้านสุขภาพและปัจจัยเสี่ยง
2.ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
:pencil2: ข้อมูลด้านประชากร : โครงสร้างประชากร ความหนาแน่น คุณภาพ ระดับการศึกษา
:pencil2:ด้านเศรษฐกิจ : อาชีพ รายได้ ลักษณะบ้าน เครื่องอำนวยความสะดวก การใช้เทคโนโลยี
:pencil2:ข้อมูลทั่วไของชุมชน : ที่ตั้งชุมชน สภาพภูมิศาสตร์ สิ่งก่อสร้าง : บ้าน วัด โรงเรียน โรงพยาบาล
:pencil2:ด้านสังคม : ความเป็นอยู่ การศึกษา การเมือง เช่น สัมพันธภาพในครอบครัว ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง ความเชื่อ ศาสนา
:pencil2:ข้อมูลด้านสุขภาพ : ข้อมูลในการวินิจฉัยปัญหาชุมชน เช่น ข้อมูลการเจ็บป่วย อัตราการป่วย/ตาย
3.ข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน
ภาชนะเก็บน้ำ
วิธีการบำบัดน้ำเสีย
การกำจัดขยะมูลฝอย
4.ข้อมูลด้านบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพ
คุณภาพบริการ
ความเพียงพอต่อความต้องการ
3. การนำเสนอข้อมูลสุขภาพชุมชน
การนำเสนอในรูปตาราง
การนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟและแผนภูมิ
การนำเสนอในรูปบทความ
การนำเสนอในลักษณะกึ่งตารางกึ่งบทความ
ปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาสุขภาพชุมชน
1.การเปลี่ยนแปลงธรรมชาติของโรค เช่น โรคติดเชื้อต่างๆ
2,การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ความเจริญทางด้านเทคโนโลยี เช่น ภาวะโลกร้อน ความเครียดในชีวิต
3.การเปลี่ยนแปลงในเวชปฏิบัติและการสาธารณสุข เช่น ค่ารักษาพยาบาลที่สูงขึ้น
4.การเปลี่ยนแปลงด้านความคิดและพฤติกรรมประชาชน เช่น การใช้อาหารเสริม
5.การเปลี่ยนแปลงด้านประชากร การย้ายถิ่น การเกิด การตาย ปัญหาโภชนาการ อัตราการเกิดโรค และปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน
6.การเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารจัดการของรัฐ เช่น ปัญหาการจัดผังเมือง
เครื่องมือ
แฟ้มอนามัยครอบครัว