Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ร่างกายของเรา - Coggle Diagram
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ร่างกายของเรา
ระบบย่อยอาหาร
อวัยวะ
ปาก
ฟัน
ฉีก บดเคี้ยวอาหารให้เล็กลง
ฟันน้ำนมมี 20 ซี่ ฟันเเท้มี 32 ซี่
ลิ้น
คลุกเคล้าอาหาร
รับรส
ต่อมน้ำลาย
3 คู่ ข้างกกหู ใต้ขากรรไกร เเละใต้ลิ้น
น้ำลาย
ชนิดใส
อะไมเลสหรือไทยาลิน ย่อยเเป้งเเละไกลโคเจน เป็นเดกซ์ตริน มอลโทส เเละกลูโคส
ชนิดเหนียว
ช่วยให้อาหารผสมกับน้ำย่อยได้ดี
สะดวกต่อการกลืน
หลอดอาหาร
มีลักษณะเป็นท่อ
อยู่ด้านหลังหลอดลมต่อจากคอหอย
มีการย่อยเชิงกลโดยกระบวนการ Peristalsis
กระเพาะอาหาร
หลั่ง HCL ออกมาทำให้มีสภาพเป็นกรด
ย่อยอาหารจำพวกโปรตีน
เพปซิน ย่อยโปรตีนเป็นเพปไทด์เเละกรดอะมิโน
เรนนินย่อยโปรตีนนม
มีหูรูดทั้งบนเเละล่าง
ย่อยเชิงกลโดยการเคลื่อนไหวเเบบคลื่นเเละเเบบ Peristalsis
ลำไส้เล็ก
ยาวประมาณ 7-8 เมตร
มีการย่อยทั้งเชิงกล เชิงเคมี เเละดูดซึมมากที่สุด
มีวิลลัสช่วยเพิ่มพื้นที่ในการย่อยเเละดูดซึมสารอาหาร
3 ส่วน
เจจูนัม (Jejunum)
ยาว 3-4 เมตร
ดูดซึมมากที่สุด
ดูโอดีนัม (duodenum)
มีสารเคมีหลายชนิด
น้ำย่อยจากตับอ่อน
น้ำดีจากตับ
น้ำย่อยจากผนังลำไส้เล็กส่วนนี้
มีการย่อยมากที่สุด
ยาวประมาณ 25-30 ซม.
อิเลียม (ilium)
มีขนาดเล็ก
ยาวที่สุด ประมาณ 4.3 เมตร
ย่อย
คาร์โบไฮเดรต
อะไมเลส ย่อย เเป้ง ไกลโคเจน เดกซ์ทริน
มอลโทส
เอนไซม์มอลเทส
กลูโคส+กลูโคส
เเลกโทส
เอนไซม์เเลกเทส
กลูโคส+กาเเลกโทส
ซูโครส
เอนไซม์ซูเครส
กลูโคส+ฟรักโทส
โปรตีน
ทริปซินเเละไดโมทริปซิน ย่อยโปรตีน ได้เพปไทด์
อะมิโนเพปทิเดส
คาร์บอกซิเพปทิเดส
ไดเพปทิเดส
ไตรเพปทิเดส
ย่อยเพปไทด์
เป็นกรดอะมิโน
ไขมัน
น้ำดีทำให้ไขมันเเตกตัว ย่อยด้วย ไลเพส ได้กรดไขมันเเละกลีเซือรอล
ลำไส้ใหญ่
ไม่มีการย่อยอาหาร
ดูดซึมน้ำ วิตามิน เเร่ธาตุ เเละน้ำตาลกลูโคสออกจากกากอาหารกลับเข้าสู่เส้นเลือดฝอย
ยาวประมาณ 1.5 เมตร
3 ส่วน
ซีกัม (caecum)
มีไส้ติ่ง
ติดกับ ilium ตอนปลาย
โคลอน (colon)
ยาวมากที่สุด
เป็นรูปตัวยูคว่ำ
ไส้ตรง (rectum)
กระตุ้นให้ลำไส้ใหญ่หดตัวเมื่อกากอาหารลงมา
ขับกากอาหารออกทางทวารหนัก
เป็นที่อยู่ของเเบคทีเรียที่มีประโยชน์
ทวารหนัก
ขับถ่ายกากอาหารออกจากร่างกาย
มีกล้ามเนื้อหูรูด
กระบวนการย่อยอาหาร
เชิงกล
การบด เคี้ยว
การบีบเเละคลายตัวของกล้ามเนื้อ
เชิงเคมี
ใช้น้ำย่อยหรือเอนไซม์ในการย่อย
ความสำคัญเเละการดูเเลรักษา
ความสำคัญ
ย่อยอาหารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ให้เล็กลงจนสามารถดูดซึมเข้าสู่กระเเสเลือด เพื่อนำไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย
การดูเเลรักษา
รับประทานอาหารที่สะอาด มีคุณค่าทางโภชนาการ
หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด
เคี้ยวอาหารให้ละเอียด
ดื่มน้ำอย่างน้อย 6-8 แก้ว
ไม่ออกกำลังหรือนอนหลักจากรับประทานอาหารเสร็จใหม่ๆ
ขับถ่ายให้เป็นเวลาทุกวัน
รับประทานอาหารให้ตรงเวลา
อาหาร สารอาหาร เเละพลังงาน
พลังงาน
ให้พลังงาน
โปรตีน 4 kcal/g
คาร์โบไฮเดรต 4 kcal/g
ไขมัน 9 kcal/g
ไม่ให้พลังงาน
วิตามิน
เกลือเเร่
น้ำ
สารอาหาร (nutrients)
สารเคมีที่ประกอบอยู่ในอาหาร
6 ประเภท
โปรตีน
ซ่อมเเซมส่วนที่สึกหรอ
ให้พลังงานเเก่ร่างกาย
ร่างกายเจริญเติบโต
ร่างกายเเข็งเเรง ไม่มีโรค
หน่วยที่เล็กที่สุดคือ กรดอะมิโน
คาร์โบไฮเดรต
ให้พลังงานเเก่ร่างกาย
ร่างกายเจริญเติบโต
ร่างกายเเข็งเเรง ไม่มีโรค
หน่วยที่เล็กที่สุดคือ น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
เกลือเเร่
ร่างกายเเข็งเเรง ไม่มีโรค
ร่างกายเจริญเติบโต
วิตามิน
ร่างกายเจริญเติบโต เเข็งเเรง ไม่มีโรค
ละลาย
ในน้ำ
ฺB
C
ในไขมัน
A
D
E
K
ไขมัน
ร่างกายเเข็งเเรง ไม่มีโรค
ร่างกายเจริญเติบโต
ให้พลังงานเเก่ร่างกาย
หน่วยที่เล็กที่สุดคือ กรดไขมัน เเละ กลีเซอรอล
น้ำ
:
ร่างกายเเข็งเเรง ไม่มีโรค
อาหาร (food)
สิ่งที่บริโภคไปเเล้วให้ประโยชน์แก่ร่างกาย
อาหาร 5 หมู่
หมู่ 1 เนื้อ นม ไข่ ถั่ว งา
หมู่ 2 ข้าว เเป้ง เผือก มัน น้ำตาล
หมู่ 3 ผักต่างๆ
หมู่ 4 ผลไม้ต่างๆ
หมู่ 5 ไขมันจากพืชเเละสัตว์