Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดระบบบริหาร บริการภายในหอผู้ป่วย ( Management in the ward) - Coggle…
การจัดระบบบริหาร บริการภายในหอผู้ป่วย
( Management in the ward)
รูปเเบบการมอบหมายงาน
รายกรณี/รายผู้ป่วย (Case method)
ลักษณะ
เป็นการจัดบริการที่มอบหมายผู้ป่วยให้เเก่พยาบาลทำการดูเเลเป็นรายๆไป โดยดูเเลทุกอย่างครบถ้วนภายในเวร
ข้อดี
สามารถศึกษาความต้องการปัญหาผู้ป่วยได้ดี/องค์รวม
ผู้ป่วยพึงพอใจ
พยาบาลรับผิดชอบดูแลผู้ป่วยทั้งหมด
เน้นผู้ป่วยเป็หอผู้ป่วยการรับใหม่
ให้การดูแลผู้ป่วยแต่ละรายแบบเบ็ดเสร็จ
ข้อเสีย
ทักษะบางอย่างอาจไม่เหมาะสม
ไม่เหมาะกับพยาบาลจบใหม่/ด้อยประสบการณ์
ไม่เหมาะกับ Ward ที่มีการรับใหม่เเละจำหน่ายมากในเเต่ละเวร
ใช้พยาบาลมาก ค่าใช้จ่ายสูง เครื่องมือมาก
เเผนการพยาบาลอาจไม่ต่อเนื่องตั้งเเต่เเรกรับ-จำหน่าย
เมื่อมีปัญหาในการตัดสินใจ
อันดับเเรกต้องเเจ้งรายต่อ Incharge
เเบบผสมผสาน (Mix Method)
ลักษณะ
รูปเเบบการพยาบาลเเบบผสมผสาน เป็นรูปแบบการพยาบาลที่ผสมผสานกันหลายๆแบบ เช่นรูปแบบการพยาบาลเป็นทีมร่วมกันกับรูปแบบการปฏิบัติการพยาบาลตามหน้าที่ หรือ รูปแบบการพยาบาลรายบุคคลร่วมกับรูปแบบการปฏิบัติการพยาบาลตามหน้าที่ ซึ่งมีความสำคัญคือสามารถแก้ไขปัญหาพยาบาลไม่เพียงพอได้
ข้อดี
การดูแลผู้ป่วยมีความครอบคลุม
มีคุณภาพและประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วย
ข้อเสีย
อาจแก้ปัญหาการพยาบาลไม่เพียงพอได้
มีความยุ่งยากในการมอบหมายงาน
ใช้เวลาในการนิเทศมาก
เเบบกิจกรรมหรือตามหน้าที่ (Functional Method)
ลักษณะ
เป็นการจัดบริการที่มอบหมายให้ปฏิบัติการพยาบาลดูแลผู้ป่วยตามกิจกรรมหรือหนโดยจัดแบ่งกิจกรรมการพยาบาล ให้กับพยาบาลในรอบเวรนั้น
การฉีดยา
การทำแผล
ให้อาหาร
รับผู้ป่วยใหม่
ทำจำหน่าย
ช่วยแพทย์ทำหัตถการ
ข้อดี
•ประหยัดเวลา
พัฒนาทักษะการปฏิบัติการพยาบาลได้ดี
ปลอดภัยในการปฏิบัติหน้าที่
ไม่สับสนในการทำงาน
เหมาะกับกรณีคนน้อย
ลดค่าใช้จ่าย
ตรวจสอบง่าย
ให้การดูเเลผู้ป่วยตามหน้าที่ตามเวลา
ข้อเสีย
•มุ่งงานมากกว่าผู้ป่วย
ไม่ทราบความต้องการที่เเท้จริงของผู้ป่วย
ผู้ป่วยไม่รู้ว่า RN คนไหนเป็นเจ้าของไข้
ไม่เหมาะในการดูเเลที่ใช้เวลานานๆ ไม่ต่อเนื่อง ขาดองค์รวม
ไม่มีเป้าหมาย ไม่มีเเผนการพยาบาล เกิดปัญหาจึงตามเเก้
เเบบทีม (Team Method)
ลักษณะ
เป็นการจัดบริการที่มอบหมายให้ปฏิบัติการพยาบาลดูแลผู้ป่วยเป็นทีมที่ประกอบด้วยบุคลากร
ทางการพยาบาลหลายระดับในทีม
สมาชิกในทีม
In charge
Leader nurse
Member
จำนวนทีมที่เเบ่ง
จำนวนผู้ป่วย
ความรุนเเรงซับซ้อนของผู้ป่วย
ข้อดี
ยึดงานและผู้ป่วยเป็นหลัก
เกิดทักษะการทํางานเป็นทีม พึ่งพาช่วยเหลือกันและกัน
เสริมสร้างความรู้สึกการเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
ผู้ป่วยได้รับดูแลต่อเนื่อง
หัวหน้าทีมกํากับให้ทีมพยาบาลดูแลผู้ป่วยตามหน้าที่ตามเวลา
ข้อเสีย
ต้องใช้คนมาก
อาจไม่ได้ผล ถ้าไม่แบ่งงานความรับผิดชอบให้แบบจริงจัง
ไม่มีเวลาวางแผน/สื่อสาร
มีเป้าหมายแผนการพยาบาลเฉพาะแต่ละเวรไม่ต่อเนื่อง
อาจต้องใช้ Functional ร่วมด้วย
เมื่อมีปัญหาในการตัดสินใจ
ต้องเเจ้ง หัวหน้าทีม ก่อนเป็นอันดับเเรก
ระบบเจ้าของไข้ (Primary Nursing)
ลักษณะ
ระบบการพยาบาลแบบเจ้าของไข้ โดยพยาบาลวิชาชีพ 1 คน จะทำหน้าที่เป็นตัวหลักสำคัญในการดูแลผู้ป่วยตลอดระยะเวลาที่อยู่ในโรงพยาบาลตั้งแต่แรกรับเข้าไว้ในโรงพยาบาลจนกระทั่งจำหน่ายออก
ข้อดี
พยาบาลมีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
พยาบาลได้ใช้ความรู้ความสามารถเต็มที่
ดูแลผู้ป่วยได้ต่อเนื่อง
ลดจำนวนบุคคลากรที่ไม่ใช่วิชาชีพลงไป
การสื่อสารและประสานงานกับทีมสุขภาพดีขึ้น
ข้อเสีย
ไม่เหมาะกับพยาบาลที่มีประสบการณ์น้อย
ต้องใช้พยาบาลวิชาชีพจำนวนมาก
พยาบาลบางกลุ่มไม่พร้อมดูแลผู้ป่วยตลอด 24 hr.
:<3:
หลักการเเต่งตั้งเเละคุณสมบัติของพยาบาลแต่ละระดับในหอผู้ป่วย
:<3:
หลักการการเเต่งตั้ง
Head Ward
ได้รับการคัดเลือกมาจากการเเต่งตั้งของกรรมการบริหารเเละกลุ่มการพยาบาล
Subhead Ward
ได้รับการคัดเลือกมาจากการเเต่งตั้งของกรรมการบริหารเเละกลุ่มการพยาบาล
In charge
ได้รับการคัดเลือกมาจากการเเต่งตั้งของกรรมการการคัดเลือกที่สำนักงาน ก.พ. กำหนด
Leader
ได้รับการคัดเลือกหรือเเต่งตั้งมาจากสมาชิกในหอผู้ป่วย
คุณสมบัติ
:star:
Head Ward
มีความสามารถในด้านความคิดสร้างสรรค์และการสร้างวิสัยทัศน์
มีความซื่อสัตย์ น่าเชื่อถือและมีความยุติธรรม
มีคุณสมบัติที่ดีในด้านภาวะผู้นำ การอำนวยการ การจัดระบบงาน การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล
Subhead Ward
มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงาน
มีทักษะในการปฎิบัติงานสูงจากประสบการณ์
มีความสามารถในการเเบ่งเเละบริหารงาน
สามารถเเก้ไขปัญหาเฉพาะได้อย่างมันท่วงที
In charge
มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่สูง
มีประสบการณ์ในการทำงาน
สามารถเเก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเเละควบคุมสถารนการณ์ได้
สามารถจัดการบริหารการปฎิบัติการพยาบาลได้อย่างถูกต้องคล่องเเคล่ว
Leader
ผู้ที่มีลักษณะของผู้นำโดยธรรมชาติ คนที่เกิดมาเป็นผู้นำโดยเเท้จริง
การเป็นผู้นำโดยการศึกษา หรือผู้นำที่พัฒนาตนเองขึ้นมา โดยมีวิธีการหรือฝึกอบรมต่างๆเพื่อใหมีลักษณะผู้นำเเละมีความเชี่ยวชาญ
มีสติปัญญาที่ดี มีไหวพริบ มีความรู้ มีความสามารถ
มีบุคลิกภาพ น่าเชื่อถือ มีความเชื่อมั่นในตนเอง
มีความรับผิดชอบสูง ทะเยอทะยาน มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
มีความกระตือรือร้น ร่วมงานกับผู้อื่นได้ดี
บทบาทและหน้าที่
incharge
ศึกษาผู้ป่วยทุกรายชื่อที่อยู่ในความรับผิดชอบ
2.มอบหมายงานให้ทีมการพยาบาลล่วงหน้า 1 วันก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติงาน
เขียนแผนการปฏิบัติในบทบาทหัวหน้าเวรส่งอาจารย์พี่เลี้ยง
ตรวจสภาพแวดล้อมความเรียบร้อยของสถานที่อุปกรณ์ต่างๆและบุคลากรที่ปฏิบัติงานเวร
ร่วมรับเวรกับทุกทีมและบันทึกข้อมูลในสมุดรับ-ส่งเวรประจำวัน
member
ร่วมประชุมปรึกษาทางการพยาบาลผู้ป่วยในทีม
ปฏิบัติตามแผนการพยาบาลที่กําหนดให้
ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายงาน
ปรึกษาและร่วมแก้ปัญหาทางการพยาบาลกับหัวหน้าทีม
รายงานการทํางานกับหัวหน้าทีม
ดูแลการใช้เครื่องมือและจัดเก็บการบํารุงรักษา
บันทึกและรายงานการปฏิบัติการพยาบาล
พยาบาลวิชาชีพ (Register Nurse : RN)
ประเมินปัญหาและความต้องการของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
ให้การพยาบาลเฉพาะโรคได้ทุกระดับปัญหา และทุกระดับความรุนแรงของโรค
ตรวจร่างกาย วินิจฉัยโรคขั้นต้น
การสนับสนุนการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ
การสร้างความพึงพอใจแก่ผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ
วางแผนและดําเนินการส่งเสริมสุขภาพ
สังเกต บันทึก สรุป รายงานการเปลี่ยนแปลง
พยาบาลเทคนิค (Technique Nurse : TN)
ปฏิบัติการพยาบาลเบื้องต้นที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่น ซักประวัติ อาการ วัดปรอท จับชีพจร
จัดเตรียมเครื่องมือในการตรวจรักษาพยาบาล และทําความสะอาดจัดเก็บรักษา
เฝ้าระวังอาการผู้ป่วยเพื่อให้การพยาบาลเบื้องต้นและรายงานอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยให้พยาบาลวิชาชีพทราบ
เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพประชาชนที่มาใช้บริการ
ให้คําปรึกษา แนะนํา ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยและญาติของผู้ป่วย
ติดต่อประสานงานภายในทีมการพยาบาล
ผู้ช่วยพยาบาล (Practical Nurse : PN)
การวัดสัญญาณชีพ
การจัดเตรียมเก็บรักษาของเครื่องใช้ทุกชนิดให้อยู่ในสภาพที่ใช้การได้
ช่วยชําระร่างกายผู้ป่วย ป้อนอาหาร
ช่วยเหลือให้ได้รับอาหารที่มีคุณค่า
จัดทําความสะอาดบริเวณสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
Head ward
1.รับผิดชอบบริหารการพยาบาลในระดับหน่วยงาน
ตรวจสอบควบคุมการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ทุกระดับให้ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
ผู้เชื่อมโยงนโยบายจากองค์กรพยาบาลสู่การปฏิบัติในหอผู้ป่วย
เป็นผู้นำในการปฏิบัติการพยาบาลให้คำปรึกษาแนะนำและวินิจฉัยสั่งการในกรณีผู้ปฏิบัติไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้
5.กำหนดแนวทางการพัฒนาและฟื้นฟูความรู้บุคลากรทางการพยาบาลทุกระดับ
leader
ร่วมประชุมปรึกษาทางการพยาบาลผู้ป่วยในทีม
ปฏิบัติตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
ประสานงานและรายงานการทำงานกับหัวหน้าเวร
ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
ปรึกษาและร่วมแก้ไขปัญหาทางการพยาบาลกับหัวหน้าเวร
ดูแลเครื่องมือและจัดเก็บการบารุงรักษา
บันทึกและรายงานการปฏิบัติการพยาบาล
subhead ward
รับคำสั่งจากหัวหน้าวอร์ด
ช่วยติดตามดูแลแทนหัวหน้าวอร์ด
ประสานงานกับหัวหน้าเวร
หลักการมอบหมายงานที่ดีจะต้องมอบหมายงานให้เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติแต่ละคน
ต้องเป็นตัวแทนที่แสดงถึงความร่วมมือกันระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติการโดยระบุหน้าที่ความสัมพันธ์อย่างชัดเจนในการมอบหมายงาน
ต้องเป็นไปตามระดับความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วยแต่ละคน
ต้องสนองความต้องการประสบการณ์ความรู้ความสามารถของผู้ปฏิบัติงานเพราะแกมอบหมายงานให้แก่ผู้ปฏิบัติที่ไม่พร้อมจะทำให้เกิดปัญหาการทำงานและทำให้งานไม่สำเร็จ
ต้องให้ความปลอดภัยและการพยาบาลที่ดีของผู้ป่วย
การประสานงาน (Co-ordinating)
เป็นการจัดระเบียบการทำงานที่มีความเกี่ยวเนื่องกัน เพื่อให้บุคลากรร่วมมือกันทำงานด้วยความสามัคคีและงานต่างๆที่มีอยู่ไม่ซ้ำซ็อนกัน ขัดแย้งกัน หรือเหลื่อมล้ำกัน เพื่อเป้าหมายให้งานออกมามีประสิทธิภาพสูงสุด
ปัจจัยที่จะช่วยให้เกิดการประสานงานที่ดี
การทำงานต้องมีแผนงานที่ดีมีวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่แน่นอน
การเข้าใจที่ตรงกันและพร้อมที่จะช่วยเหลือกัน
มีการติดต่อสื่อสารที่ดีตลอดจนการประชุมพบปะหารือกันอยู่เสมอ
ผู้บริหารควรเห็นความสำคัญของการประสานงานและเป็นผู้มองการณ์ไกล
ประโยชน์ของการประสานงาน
ทำให้การดำเนินงานไปอย่างราบรื่นและรวดเร็วขึ้นและมีบรรยากาศการทำงานแบบมีส่วนร่วม
ช่วยให้ทุกคนเข้าใจนโยบายเป้าหมายที่ตรงกันเพื่อจะได้มีทิศทางในการทำงาน
ประหยัดเวลาวัสดุอุปกรณ์และงบประมาณในการดาเนินงาน
ส่งเสริมการทำงานร่วมกันการทำงานเป็นทีมลดข้อขัดแย้ง แต่ส่งเสริมความสามัคคีต่อกัน
5.ขจัดปัญหาที่ชับซ้อนและเหลื่อมล้ำกัน
ลักษณะของการประสานงาน
การประสานภายในองค์กรเช่นประสานตามสายบังคับบัญชาตามหน้าที่รับผิดชอบ
ตามลักษณะงานในโรงพยาบาลผู้ที่เป็นพยาบาลจะต้องประสานกับบุคคลฝ่ายต่างๆดังนี้
ประสานงานกับผู้บริหารระดับสูงของฝ่ายต่างๆในโรงพยาบาล
ประสานงานกับผู้บริหารฝ่ายการพยาบาลหัวหน้างานผู้ตรวจการและหัวหน้าหอผู้ป่วย
ประสานงานกับหัวหน้าเจ้าหน้าที่ในองค์กรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ประสานงานกับบุคลากรในทีมสุขภาพ เช่น แพทย์ เภสัช นักกายภาพบำบัด นักโภชนากร
การประสานงานภายนอกองค์กรเช่นประสานงานเพื่อตกลงทำงานวิชาการ ทำวิจัยร่วมกันระหว่างสถาบันการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลเพื่อผู้ป่วยจะได้ดูแลอย่างต่อเนื่อง