Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Opioid analgesics and antagonists, Opioids, นางสาวโศภิตา บุญญา…
Opioid analgesics and antagonists
"ยาระงับปวดในกลุ่มของ Opioid แล้วก็ยาที่มีฤทธิ์เป็นantagonistsของตัวมันเอง"
INTRODUCTIONS
Endogenous Opioid Peptides
Type of Opioid Receptors
pharmacological effect
Nociceptive Pain pathway (กลไกของการเจ็บปวด)
Mechanism of opioid action in spinal cord
Structure of Opioids
Classification of opioids analgesic
Opioid agonists
3 more items...
แบ่งกลุ่มตาม
กลไกการออกฤทธิ์ได้ 4 กลุ่ม
4 more items...
ออกฤทธิ์ได้ตั้งแต่Peripheral nerve จนถึง Central nervous System
กระตุ้นผ่านทาง opioid receptor (Mu (µ) opioid receptor (MOR))ออกฤทธิ์ได้ทั้งสัญญาณที่ขึ้นไปยังสมอง และก็สัญญาณที่ควบคุมการระงับปวดที่ส่งลงมาจากสมอง
Pre
synaptic neuron
1.ปิด voltage-gated Ca2+ channel
2.Ca2+ influxในเซลล์ลดลง
ลดการนำสัญญาณความเจ็บปวด
ขึ้นไปยังบริเวณสมองลดลง
Post
synaptic neuron
K+ efflux
hyperpolarization
ลดการส่งกระแสประสาททำให้ลดและระงับความเจ็บปวดได้
การกระตุ้นตัวรับความรู้สึกเจ็บปวด(
Nociceptor
)
2.เกิดการส่งกระแสประสาทหรือส่งสัญญาณความเจ็บปวดผ่านทางตัว Peripheral nerve
ผ่านทาง
A-delta fiber
ซึ่งจะเป็นการปวดแบบรวดเร็วแล้วก็ระบุตำแหน่งของการเจ็บปวดได้(first/fast pain)
ผ่านทาง
C fiber
ซึ่งจะเป็นการปวดแบบช้าๆ ปวดตื้อตื้อ แล้วก็ระบุตำแหน่งได้ค่อนข้างยาก (dull burning)
3.สัญญาณที่ส่งมาก็จะเข้าสู่ปมประสาทผ่านทางไขสันหลังขึ้นไปยังบริเวณสมองผ่านทางSpinothalamic tract
Ascending pathway
(ขาขึ้นไปสู่สมอง)
ประมวลผลรับรู้บริเวณและความรุนแรงของความเจ็บปวด
4.สมองก็จะส่งลงมาที่Spinal cord
Descending pathway
(ขาลงจากสมอง)
Pain Modulation
ภายหลังจากการกระตุ้นด้วย opioid receptor แต่ละชนิด
Analgesia(การระงับปวด)
Respiratory depression(การกดการหายใจ)
miosis/Pupil Constriction (รูม่านตาหดเล็ก)
เกิดท้องผูก
จิตประสาท :
Euphoria(เคลิ้มสุข)
หากใช้ต่อเนื่องก็จะทำให้ผู้ป่วยเกิด
การติดยาทางกายหรือเสพติด(Physical dependent)
Opioid receptors: G protein coupled-receptors (GPCRs)
3 Types
Mu (µ) opioid receptor (MOR)
เป็นชนิดที่มีบทบาทมากที่สุดในการระงับปวด :!:
Respiratory depression (กดการหายใจ) :<3:
Kappa (κ) opioid receptor (KOR)
psychotomimetic effects(ผลข้างเคียงซึ่งมีอาการคล้ายโรคจิต);
dysphoria(หดหู่ใจ), hallucination(หลอน)
Delta (δ) opioid receptor (DOR)
Enkephalins Endorphins Dynorphins ซึ่งPeptidesแต่ละตัวสามารถที่จะจับกับ receptor แต่ละSubtypeได้อาจจะเป็น Mu (µ) opioid receptor (MOR) + Kappa (κ) opioid receptor (KOR) + Delta (δ) opioid receptor (DOR) ซึ่งการจับของ opioid แต่ละPeptidesแต่ละชนิด
จะมีการจับและความแรงในการจับต่างกัน ดังนั้นผลต่อฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่เกิดขึ้นก็จะแตกต่างกัน
ร่างกายมีการสร้างOpioid Peptides ในร่างกายอยู่แล้ว เรียกว่า Endogenous Opioids Peptides
Morphineหรือสารในกลุ่มฝิ่น🌿
เป็นสาร
alkaloids
ที่ได้จากการสกัดจากผล
น้ำยาง
ของกลุ่มฝิ่น
ระงับปวดได้ดี
ผลข้างเคียงจะทำให้เสพติด
มีการสังเคราะห์สารที่ทำหน้าที่คล้ายมอร์ฟีนระงับปวด แก้ปวดได้ดีจะออกฤทธิ์ผ่านทางตัวรับ opioid เรียกว่า opioid receptor
นางสาวโศภิตา บุญญา รหัสนักศึกษา6310410152